เวลาเกิดเหตุภัยพิบัติต่างๆ ขึ้น สิ่งหนึ่งที่สังคมไทยเรามักจะขาด คือการนำเอาเหตุการณ์นั้น มาศึกษาวิเคราะห์ดูสาเหตุปัจจัยผลกระทบ เพื่อเป็นแนวทางในการรับมือสำหรับเหตุการณ์พิบัติครั้งต่อๆ ไป
ดังเช่น ที่เพิ่งเกิดเหตุโรงงานสารเคมีระเบิด ที่สมุทรปราการ ไปเมื่อเดือนก่อนนั้น ปัญหาที่เกิดขึ้นหน้างานก็คือ ทิศทางของลมที่บรรดาควันพิษจะลอยไปนั้น จะไปทางทิศทางใดกันแน่
งานวิจัยดังที่อยู่ในรายงานข่าวนี้ ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมาก ที่ทำให้เราเข้าใจถึงแนวทางการประเมินทิศทาง ของผลกระทบจากมลพิษสารเคมีทางอากาศที่เกิดขึ้น ถ้ามีเหตุการณ์เช่นนี้อีกครั้ง ในอนาคตครับ
-------
(รายงานข่าว)
เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม รศ.ดร.เกษมสันต์ มโนมัยพิบูลย์ บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วิเคราะห์ทางเลือกระบบจำลองคาดการณ์มลพิษอากาศในภาวะฉุกเฉิน: กรณีไฟไหม้โรงงานสารเคมีย่านกิ่งแก้ว ระบุว่า
เหตุการณ์ไฟไหม้โรงงานสารเคมีย่านกิ่งแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการที่ผ่านมาได้กระทบต่อประชาชนจำนวนมากที่อาศัยทำงานอยู่ในพื้นที่ใกล้โรงงานทั้งนี้ทางภาครัฐ ภาคอุตสาหกรรม หน่วยงานบรรเทาสาธารณภัย และนักวิชาการก็ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญร่วมกันต่อปัญหาดังกล่าวเหตุการณ์
เริ่มจากการระเบิดของสารเคมีที่เก็บในโรงงานประมาณ 3 นาฬิกาของวันที่ 5 กรกฏาคม 2564 ต่อมาเกิดไฟลุกโชนในโรงงานอย่างรุนแรงต่อเนื่องมีควันดำขนาดใหญ่พวยพุ่งลอยขึ้นสูงในบรรยากาศและถูกพัดพาไปไกลโดยลม ไฟเริ่มซาและถูกควบคุมได้ในช่วงค่ำและเช้าของอีกวันต่อมา ที่ตั้งของโรงงาน ณ ปัจจุบัน ก็มีชุมชนที่พักอาศัย วัด โรงพยาบาล โรงเรียน และโรงงานอื่นอยู่โดยรอบซึ่งเป็นผลของการขยายตัวของเมืองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นสะท้อนถึงความจำเป็นที่ควรมีระบบหรือเทคโนโยลีจำลองมลพิษอากาศที่เหมาะสมเพื่อรองรับกรณีไฟไหม้รุนแรงหรือสถานการณ์ฉุกเฉินโดยสามารถคาดการณ์ความรุนแรงล่วงหน้าและใช้ประเมินกำหนดมาตรการแก้ไขลดผลกระทบได้ หากพิจารณาลักษณะรูปแบบของไฟไหม้โรงงานย่านกิ่งแก้วและพฤติกรรมของของควันตามหลักวิชาการที่เกี่ยวข้อง ก็สามารถใช้เป็นแนวทางเพื่อกำหนดคุณสมบัติของระบบจำลองที่พึงมีได้โดยผมขออธิบายและสรุปไว้ข้างล่างนี้สำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องหรือสนใจ
#ข้อที่1: พฤติกรรมของการลอยตัวของควัน
การสันดาปหรือเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของสารเคมีที่ใช้ในกระบวนการผลิตโฟมของโรงงานดังกล่าว(ในที่นี้ สไตรีนโมโนเมอร์และสารเคมีกลุ่มเบนซีน) ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงที่ระเหยและติดไฟง่าย ก่อให้เกิดควันซึ่งประกอบด้วยเขม่าดำ ฝุ่น ก๊าชต่างๆ ปะปนกับก๊าซระเหยของสารเคมีตั้งต้นรวมทั้งไอน้ำปนอยู่ (แต่ไม่มากเท่าการเผาไหม้ที่สมบูรณ์)การยกตัวของควันนั้นเกิดจากแรงลอยตัวเพราะอุณหภูมิของควันมีค่าสูงทำให้มีความหนาแน่นน้อยกว่าอากาศที่อยู่โดยรอบ เมื่อควันลอยขึ้น (Plume Rise) (รูปที่ 1) ก็จะขยายตัวใหญ่ขึ้นผ่านกระบวนการฟิสิกส์ 2 อย่าง คือ
#กฏอะเดียแบติก (Adiabatic)เพราะความดันอากาศลดลงตามความสูงของควันลอยขึ้นปริมาตรของควันจะเพิ่มและควันก็เย็นตัวลงพร้อมกัน
#ความปั่นป่วนและการดึงอากาศเข้า (Turbulence & Entrainment) เนื่องด้วยสภาพภายในของควันร้อนมาก อากาศภายในควันจึงมีสภาพปั่นปั่วนและเมื่อควันลอยตัวอย่างรวดเร็ว สภาพปั่นป่วนก็จะดึงมวลอากาศเย็นที่อยู่รอบๆ เข้ามาทำให้ควันขยายตัวเพิ่มเร็วขึ้น
#ข้อที่2: ระดับการลอยตัวและการเบ้เอียงของแนวควัน
ความสูงสุทธิที่ควันจะลอยขึ้นมีความสำคัญ หลังจากนั้น ควันก็ถูกพัดพาและแพร่กระจายต่อไป หากควันลอยสูงเป็นแนวดิ่งก็จะกระทบต่อพื้นที่ใกล้จุดเกิดเหตุไม่มาก แต่หากลมใกล้ผิวพื้นพัดแรงก็จะทำให้ควันที่ลอยอยู่เบ้เอียงลู่ตามลมและเกิดแรงเฉือน (Wind Shear) เหนี่ยวนำการแพร่กระจายของควันสู่ลงผิวพื้นได้ (รูปที่ 1 กลาง)โดยปกติแล้ว ควันจะหยุดลอย ณ ความสูงที่บรรยากาศมีความเสถียร (Stable) (ในที่นี้ อากาศโดยรอบเท่ากับหรืออุ่นกว่าในควันทำให้ไม่มีแรงลอยตัว) ควันจากไฟไหม้ที่รุนแรงสามารถยกตัวลอยทะลุผ่านชั้นบรรยากาศผกผันที่เสถียรใกล้ผิวพื้น (Low-Level Inversion Layer) ซึ่งปกติเกิดขึ้นไม่ห่างจากผิวพื้น (เช่น50-500 ม.)ตอนกลางคืนและช่วงเช้า-สายของวันใหม่ (รูปที่ 1 ขวา) อย่างที่กล่าวมาข้างต้น เมื่อควันลอยขึ้นตัวก็จะเย็นลง ไอน้ำในควันจะควบแน่นเป็นละอองน้ำได้ง่าย ซึ่งช่วยให้เราสังเกตุควันได้ง่ายขึ้นแม้ว่าควันจะลอยสูงหรือถูกพัดพาไปไกลแล้ว ควันจากไฟไหม้ที่รุนแรงสามารถลอยสูงถึงฐานเมฆหากมีแรงลอยตัวเพียงพอหรืออยู่ภายใต้สภาพบรรยากาศที่ไม่เสถียรช
#ข้อที่3: การพัดพาและแพร่กระจาย
แม้ว่าลมพัดพาควันให้ลอยไปในแนวราบ แต่ความปั่นป่วนในบรรยากาศจะทำหน้าที่แพร่กระจายควันที่เข้มข้นตามแนวแกนให้เจือจางไปทั้งในแนวราบและแนวดิ่งซึ่งทำให้ขนาดควันหรือพลูม (Plume) ใหญ่ขึ้นตามระยะทาง (รูปที่ 2 และรูปที่ 3) พลูมของควันถูกเหนี่ยวนำเปลี่ยนไปตามทิศทางลมที่อาจเปลี่ยนไปตามเวลา นอกจากนั้นหากควันมีขนาดใหญ่การพัดพาก็จะได้รับอิทธิพลจากทั้งลมใกล้ผิวพื้นและลมระดับบน โดยทั่วไป พฤติกรรมของลมทั้งสองระดับไม่คล้ายคลึงกัน ลมใกล้ผิวพื้นมีความเร็วน้อยกว่าแต่แปรผันบ่อยทั้งเชิงพื้นที่และเวลาเป็นเพราะลมระดับล่างมีความอ่อนไหวต่อความขรุขระของผิวพื้น (Roughness) และต่อสมดุลพลังงานผิวพื้น(Surface Energy Balance)มากกว่านั่นเอง ควันหากลอยขึ้นสู่ถึงฐานเมฆไอน้ำที่มีอยู่ในควันก็ควบแน่นเป็นละอองน้ำ ดังนั้นควัน-ละอองน้ำที่ควบแน่น-เมฆที่เกิดอยู่ในธรรมชาติก็จะรวมปะปนกัน (รูปที่ 2 ขวาและรูปที่ 3) หากเกิดฝน ฝนก็จะชะล้างควันในบรรยากาศ (Wet Scavenging)มิฉะนั้น ควันก็จะถูกชะล้างแบบแห้ง (Dry Scavenging) สู่ผิวพื้น อาศัยการแพร่กระจายในแนวดิ่งซึ่งควบคุมโดยสภาพการปั่นป่วนในบรรยากาศ
#ข้อที่4 พลศาสตร์ของควัน
ด้วยที่สภาพอากาศมีการแปรผันตามเวลาและพื้นที่อยู่ตลอดควัน(หรือส่วนของควัน)ที่เราสังเกตุเห็นนั้นเป็นผลรวมสุทธิของควันที่ถูกพัดพาและแพร่กระจายตั้งแต่ปล่อยจากแหล่งกำเนิดมาก่อนหน้าและทีหลัง จึงมีลักษณะเป็นพลศาสตร์ (Dynamic) ไม่ใช่เป็นสภาพสถิตย์ที่ชั่วโมงหรือสถานที่ใดหลักพลศาสตร์จึงเหมาะสมสอดคล้องกับการประยุกต์ใช้ในกรณีไฟไหม้ขนาดใหญ่เพราะควันล่องลอยอยู่นานในบรรยากาศและสามารถเคลื่อนที่แพร่กระจายไปทั้งระยะใกล้ (Short-Range Transport) และระยะไกล (Long-Range Transport)
#สรุปและข้อเสนอ
จากที่กล่าวมาผ่านกรณีไฟไหม้โรงงานสารเคมีย่านกิ่งแก้ว สามารถสรุปได้ว่า ระบบหรือเทคโนโลยีจำลองที่เหมาะสมเพื่อใช้คาดการณ์มลพิษอากาศในสถานการณ์ฉุกเฉินควรมีคุณสมบัติหรือองค์ประกอบดังนี้
เป็นการจำลองแบบพลศาสตร์ ในทางปฏิบัติ การจำลองมลพิษอากาศจะสมมติให้ควันเกิดขึ้นเป็นระยะหรือเป็นชุดต่อเนื่องกัน โดยแต่ละชุดเคลื่อนตัวอย่างเอกเทศ แต่ผลสุทธิของควันก็คือผลลัพธ์รวมที่ได้ควันทุกระยะหรือทุกชุดเข้าด้วยกัน ทั้งนี้การจำลองอาจกำหนดให้ควันถูกปล่อยจากแหล่งกำเนิดเป็นก้อนหรือพัฟ (Simulated Puffs) หรืออนุภาค (Simulated Particles)แม้ว่าการจำลองที่ใช้วิธีอนุภาคจะมีความแม่นยำที่ดีแต่ก็ต้องการทรัพยากรคอมพิวเตอร์เพื่อคำนวณประมวลที่สูงมาก สำหรับการจำลองวิธีพัฟนั้น ได้มีการพัฒนาและประยุกต์ทดสอบมายาวนานจึงมีความสมบูรณ์ทางเทคนิคมากกว่า อีกทั้งต้องการทรัพยากรเพื่อการคำนวณน้อยกว่า การจำลองทั้งสองวิธีนี้แตกต่างกับวิธีพลูม (Simulated Plume) (รูปที่ 5) ที่มีข้อจำกัดหลักคือการจำลองแบบสถิตย์ซึ่งไม่สามารถใช้รองรับหรือประยุกต์สอดคล้องกับสถานการณ์ไฟไหม้ดังกล่าวได้ดี
บูรณาการกระบวนการที่สำคัญเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งได้แก่ การลอยและขยายตัวของควันลมเฉือน การเบ้เอียงของควันเสถียรภาพของบรรยากาศ ชั้นบรรยากาศผกผัน การพัดพาโดยลมและการแพร่กระจายในแนวราบและดิ่งโดยการปั่นป่วนที่ความสูงต่างๆ รวมทั้งการชะล้างแบบเปียกและแห้ง ดังนั้นการจำลองจำเป็นที่ต้องนำเข้าข้อมูลสภาพอากาศจำนวนมาซึ่งในทางปฏิบัติ สามารถใช้ผลลัพธ์จากแบบจำลองพยากรณ์อุตุนิยมวิทยาที่มีความละเอียดกริดสูง(เช่น 1-3 กิโลเมตร) และคาดการณ์ล่วงหน้าอย่างน้อย 1-2 วัน ถ้าการพยากรณ์ได้พิจารณาปัจจัยกายภาพเฉพาะของเมืองใหญ่ (Urban-Scale Modeling) ก็จะทำให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือมากขึ้น ในประเทศไทยกรมอุตุนิยมวิทยาและสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานรัฐที่ดำเนินการพยากรณ์อุตุนิยมวิทยาที่ความละเอียดสูงเป็นประจำดังนั้น หากเชื่อมโยงข้อมูลพยากรณ์ดังกล่าวกับการจำลองมลพิษอากาศก็จะเป็นการต่อยอดการประยุกต์ใช้ข้อมูลเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過8的網紅alpha 06,也在其Youtube影片中提到,...
「transport layer」的推薦目錄:
- 關於transport layer 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
- 關於transport layer 在 Taipei Ethereum Meetup Facebook 的精選貼文
- 關於transport layer 在 BorntoDev Facebook 的最佳解答
- 關於transport layer 在 alpha 06 Youtube 的最佳貼文
- 關於transport layer 在 In TCP/IP Model why transport layer functionality referred to ... 的評價
transport layer 在 Taipei Ethereum Meetup Facebook 的精選貼文
📜 [專欄新文章] Optimistic Rollup 就這樣用(2)
✍️ Juin Chiu
📥 歡迎投稿: https://medium.com/taipei-ethereum-meetup #徵技術分享文 #使用心得 #教學文 #medium
ERC721 的儲值、轉移與提領
TL;DR
本文會跳過 Optimistic Rollup 的介紹而直接實際演示,關於 Optimistic Rollup 的概念與設計原理筆者將在日後另撰文說明,有興趣的讀者可以先參考下列三篇文章(由淺入深):1. OVM Deep Dive 2. (Almost) Everything you need to know about Optimistic Rollup 3. How does Optimism’s Rollup really work?
本文將演示一個 Optimism Rollup 的 ERC721 範例,程式碼在這裡。
本演示大量參考了以下範例:Optimistic Rollup Example: ERC20。
本演示所使用的 ERC721 Gateway 合約來自這個提案,目前尚未成為官方標準。
環境設置
Git
Node.js
Yarn
Docker
Docker-compose
筆者沒有碰到環境相容問題,但是建議都升到最新版本, Node.js 使用 v16.1.0 或以上版本
Optimism 服務啟動
有關 Optimisim 的所有服務,都包裝在 Optimism 這個超大專案當中了,直接使用原始碼進行組建:
$ git clone git@github.com:ethereum-optimism/optimism.git$ cd optimism$ yarn$ yarn build
組建完成後,就可以在本機啟動服務了:
$ cd ops$ docker-compose build$ docker-compose up
這個指令會啟動數個服務,包括:
L1 Ethereum Node (EVM)
L2 Ethereum Node (OVM)
Batch Submitter
Data Transport Layer
Deployer
Relayer
Verifier
Deployer 服務中的一個參數要特別注意: FRAUD_PROOF_WINDOW_SECONDS,這個就是 OPtimistic Rollup 的挑戰期,代表使用者出金(Withdraw)需等候的時長。在本篇演示中預設為 0 秒。
如果有需要重啟,記得把整個 Docker Volume 也清乾淨,例如: docker-compose down -v
Optimism 整合測試
在繼續接下來的演示之前,我們需要先確認 Optimism 是否有順利啟動,特別是 Relayer 是否運作正常,因此我們需要先進行整合測試:
$ cd optimism/integration-tests$ yarn build:integration$ yarn test:integration
確保 L1 <--> L2 Communication 相關測試通過後再繼續執行接下來的演示內容。
啟動服務及部署合約需要花費一些時間,運行一段時間(約 120 秒)之後再執行測試,如果測試結果全部皆為 Fail,可能是 Optimism 尚未啟動完成,再等待一段時間即可。
ERC721 合約部署
Optimism 啟動成功並且完成整合測試後,接下來進行 ERC721 合約的部署。筆者已將合約及部署腳本放在 optimistic-rollup-example-erc721 這個專案中:
$ git clone git@github.com:ethereum-optimism/optimistic-rollup-example-erc721.git$ cd optimistic-rollup-example-erc721$ yarn install$ yarn compile
接下來我們需要部署以下合約:
ERC721,部署於 L1
L2DepositedEERC721,部署於 L2
OVM_L1ERC721Gateway,部署於 L1
OVM_L1ERC721Gateway 只部署在 L1 上,顧名思義它就是 L1 <=> L2 的「門戶」,提供 Deposit / Withdraw 兩個基本功能,使用者必須透過這個合約來進出 L2。
雖然 OVM_L1ERC20Gateway 是 Optimistic Rollup 官方提供的合約。但是開發者也可以依需求自行設計自己的「門戶」。
OVM_L1ERC20Gateway 目前沒有 Optimism 的官方實作,本演示所使用的 ERC721 Gateway 合約來自這個提案,目前尚未成為官方標準。
接下來,我們直接用腳本進行部署:
$ node ./deploy.jsDeploying L1 ERC721...L1 ERC2721 Contract Address: 0xFD471836031dc5108809D173A067e8486B9047A3Deploying L2 ERC721...L2 ERC721 Contract Address: 0x09635F643e140090A9A8Dcd712eD6285858ceBefDeploying L1 ERC721 Gateway...L1 ERC721 Gateway Contract Address: 0xcbEAF3BDe82155F56486Fb5a1072cb8baAf547ccInitializing L2 ERC721...
ERC721 鑄造、儲值、轉移與提領
鑄造(L1)
初始狀態如下,所有帳戶皆尚未持有任何代幣:
接下來,我們將鑄造 2 個代幣以進行接下來的演示。首先,進入 ETH(L1) 的 Console:
$ npx hardhat console --network ethWelcome to Node.js v16.1.0.Type ".help" for more information.>
取得 Deployer / User 帳戶:
// In Hardhat ETH Console
> let accounts = await ethers.getSigners()
> let deployer = accounts[0]
> let user = accounts[1]
取得 ERC721 及 OVM_L1ERC721Gateway 合約物件,合約地址可以從部署訊息中取得:
// In Hardhat ETH Console
> let ERC721_abi = await artifacts.readArtifact("ExampleToken").then(c => c.abi)
> let ERC721 = new ethers.Contract("0xFD471836031dc5108809D173A067e8486B9047A3", ERC721_abi)
> let Gateway_abi = await artifacts.readArtifact("OVM_L1ERC721Gateway").then(c => c.abi)
> let Gateway = new ethers.Contract("0xcbEAF3BDe82155F56486Fb5a1072cb8baAf547cc", Gateway_abi)
鑄造兩個 ERC721 代幣:
// In Hardhat ETH Console
> await ERC721.connect(deployer).mintToken(deployer.address, "foo")
{ hash: "...", ...}
> await ERC721.connect(deployer).mintToken(deployer.address, "bar")
{ hash: "...", ...}
只有合約的 Owner(deployer) 可以進行鑄造的操作。
確認 Deployer 餘額:
> await ERC721.connect(deployer).balanceOf(deployer.address)
BigNumber { _hex: '0x02', _isBigNumber: true } // 2
確認代幣的 TokenID 與 Owner:
> await ERC721.connect(deployer).ownerOf(1)
'0xf39Fd6e51aad88F6F4ce6aB8827279cffFb92266' // deployer
> await ERC721.connect(deployer).ownerOf(2)
'0xf39Fd6e51aad88F6F4ce6aB8827279cffFb92266' // deployer
儲值(L1 => L2)
完成以上步驟後,目前的狀態如下:
接下來,授權 OVM_L1ERC721Gateway使用 TokenID 為 2 的代幣:
// In Hardhat ETH Console
> await ERC721.connect(deployer).approve("0xcbEAF3BDe82155F56486Fb5a1072cb8baAf547cc", 2)
{ hash: "...", ...}
在 OVM_L1ERC721Gateway 合約呼叫 Deposit,儲值 TokenID 為 2 的代幣:
// In Hardhat ETH Console
> await Gateway.connect(deployer).deposit(2)
{ hash: "...", ...}
我們可以到 Optimism (L2) 的 Console 確認入金是否成功:
$ npx hardhat console --network optimismWelcome to Node.js v16.1.0.Type ".help" for more information.>
取得 Deployer / User 帳戶:
// In Hardhat Optimism Console
> let accounts = await ethers.getSigners()
> let deployer = accounts[0]
> let user = accounts[1]
取得 L2DepositedERC721 合約物件,合約地址可以從部署訊息中取得:
// In Hardhat Optimism Console
> let L2ERC721_abi = await artifacts.readArtifact("OVM_L2DepositedERC721").then(c => c.abi)
> let L2DepositedERC721 = new ethers.Contract("0x09635F643e140090A9A8Dcd712eD6285858ceBef", L2ERC721_abi)
確認入金是否成功:
// In Hardhat Optimism Console
> await L2DepositedERC721.connect(deployer).balanceOf(deployer.address)
BigNumber { _hex: '0x01', _isBigNumber: true } // 1
> await L2DepositedERC721.connect(deployer).ownerOf(2)
'0xf39Fd6e51aad88F6F4ce6aB8827279cffFb92266' // deployer
ERC721 轉移(L2 <=> L2)
完成以上步驟後,目前的狀態如下:
接下來,我們在 L2 從 Deployer 轉移代幣給 User:
// In Hardhat Optimism Console
> await L2DepositedERC721.connect(user).balanceOf(user.address)
BigNumber { _hex: '0x00', _isBigNumber: true } // 0
> await L2DepositedERC721.connect(deployer).transferFrom(depoyer.address, user.address, 2)
{ hash: "..." ...}
> await L2DepositedERC721.connect(user).balanceOf(user.address)
BigNumber { _hex: '0x01', _isBigNumber: true } // 1
> await L2DepositedERC721.connect(user).ownerOf(2)
'0x70997970C51812dc3A010C7d01b50e0d17dc79C8' // user
ERC721 提領(L2 => L1)
完成以上步驟後,目前的狀態如下:
接下來,我們用 User 帳戶提領資金,在 L2DepositedERC721 合約呼叫 Withdraw:
// In Hardhat Optimism Console
> await L2DepositedERC721.connect(user).withdraw(2)
{ hash: "..." ...}
> await L2DepositedERC721.connect(user).balanceOf(user.address)
BigNumber { _hex: '0x00', _isBigNumber: true }
最後,檢查在 L1 是否提領成功:
// In Hardhat ETH Console
> await ERC721.connect(user).balanceOf(user.address)
BigNumber { _hex: '0x01', _isBigNumber: true } // 1
> await ERC721.connect(deployer).balanceOf(deployer.address)
BigNumber { _hex: '0x01', _isBigNumber: true } // 1
> await ERC721.connect(user).ownerOf(2)
'0x70997970C51812dc3A010C7d01b50e0d17dc79C8' // user
由於挑戰期為 0 秒,因此提領幾乎無需等待時間,頂多只需數秒鐘
做完上述所有操作,最終狀態應該如下:
總結
本文演示了:
Optimistic Rollup 相關服務的本機部署
ERC721 L1 => L2 的儲值(Deposit)
ERC721 L2 帳戶之間轉移(Transfer)
ERC721 L2 => L1 的提領(Withdraw)
筆者未來將繼續擴充此系列的教學內容,例如支援其他標準的合約如 ERC1155,以及如何運行 Optimistic Rollup 生態系中最重要的驗證者(Verifier),敬請期待。
參考資料
OVM Deep Dive
(Almost) Everything you need to know about Optimistic Rollup
How does Optimism’s Rollup really work?
Optimistic Rollup Official Documentation
Ethers Documentation (v5)
Optimistic Rollup Example: ERC20(Github)
Optimism (Github)
optimism-tutorial (Github)
l1-l2-deposit-withdrawal (Github)
Proof-of-concept ERC721 Bridge Implementation (Github)
Optimistic Rollup 就這樣用(2) was originally published in Taipei Ethereum Meetup on Medium, where people are continuing the conversation by highlighting and responding to this story.
👏 歡迎轉載分享鼓掌
transport layer 在 BorntoDev Facebook 的最佳解答
🔥 Firewall คือ ด่านตรวจคนเข้าเมืองดีดีนั่นเอง 👮♂️ ทำหน้าทีคัดกรองคนที่จะเข้ามายังอุปกรณ์ของเรา ซึ่งจะตรวจดูว่าข้อมูลนี้มาจากไหน (Source) และข้อมูลต้องการจะส่งไปไหน (Destination) และข้อมูลนี้จะทำอะไร (Service/Port) ถ้าข้อมูลมีท่าทีไม่ปลอดภัยหรือไม่ตรงตามกฏของ Firewall ก็จะทำการป้องกันไม่ใช้ข้อมูลเหล่านั้นเข้าไปได้ ซึ่ง Firewall จะมีอยู่ 2 ประเภทใหญ่ ๆ นั่นก็คือ Firewall ที่เป็น Hardware กับที่เป็น Software ซึ่ง Firewall ที่เราจะพูดถึงกันในวันนี้มีอยู่ 5 ตัว มีอะไรบ้าง ไปดูกันเลย
.
🔧 Packet Filtering Firewall คือ Firewall ที่เน้นการตรวจตัว Packet เป็นหลัก ถ้าตัว Packet ตรงตามกฏและมีความน่าเชื่อถือ ข้อมูลจะสามารถผ่านเข้าไปได้
.
💙 Circuit-level Gateway คือ Firewall ที่เน้นการตรวจสอบเส้นทางการเชื่อมต่อของเครือข่ายเพื่อพิจารณาความน่าเชื่อถือของเครือข่าย โดย Firewall ประเภทนี้ไม่สามารถตรวจสอบ Packet ด้วยตัวเองได้ ต้องตรวจผ่าน Transport Layer ของ OSI Model
.
☘️ Stateful Inspection Firewall คือ Firewall ที่เน้นไปการตรวจสอบ Packet ว่าตัวที่เข้ามานั้นเคยเข้ามาหรือไม่ โดยการนำข้อมูล Packet เดิมมาตรวจเทียบกับตัวปัจจุบัน ซึ่งมีความปลอดภัยมากกว่าการตรวจสอบแค่ Packet หรือเส้นทางการเชื่อมต่ออย่างเดียว
.
🖥️ Application-level Gateway คือ Firewall ที่ติดตั้งบนคอมพิวเตอร์เรานั่นเอง ซึ่งจะใช้การเชื่อมต่อกับ Router เพื่อตรวจสอบเส้นทางการส่งข้อมูลและข้อมูล Packet อีกทั้งยังป้องกันการโจมตีผ่านช่องทาง OSI Model ได้
.
🌈Next-generation Firewall คือ Firewall ที่รวมการตรวจสอบเส้นทางเครือข่ายและ Packet ไว้ด้วยกัน ซึ่งเจ้าตัวนี้สามารถตรวจสอบตัว Packet ได้ละเอียดแบบเชิงลึกได้ ซึ่งเป็นวิธีการตรวจสอบ Packet และเครือข่ายแบบขั้นสูง ซึ่งประกอบไปด้วยหลายแบบในการตรวจจับ และยังสามารถป้องกัน Malware ได้อีกด้วย
.
ส่วนตารางเปรียบเทียบดูได้จากในภาพเลยจ้า !!
.
หวังว่าจะเป็นประโยชน์กับเพื่อนๆ นะค้าบบ ❤️
.
borntoDev - 🦖 สร้างการเรียนรู้ที่ดีสำหรับสายไอทีในทุกวัน
transport layer 在 In TCP/IP Model why transport layer functionality referred to ... 的推薦與評價
... <看更多>