鯊魚王分baf 同金標gold label (渣康條女😂)
分別在褲的顏色不同。但滿足不想要set的人,同時滿足不想入同樣的
(注:Hong Kong are not have walmart. All mcfarlanetoys have Asia Goal as a licensed agents 。所有限定香港基本上有代理,除咗一些特別限定)
而趙喜娜 John cena分為有面罩和有真人頭。不過真人頭真係變成John China 😂
同時也有7部Youtube影片,追蹤數超過5,140的網紅Ghost Island Media 鬼島之音,也在其Youtube影片中提到,Support us on Patreon: http://patreon.com/wastenotwhynot Subscribe to our newsletter: https://wastenotwhynot.substack.com/ Follow us on Twitter: htt...
「walmart china」的推薦目錄:
- 關於walmart china 在 Jacky 玩具匣 Facebook 的最佳解答
- 關於walmart china 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
- 關於walmart china 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
- 關於walmart china 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的最讚貼文
- 關於walmart china 在 วรัทภพ รชตนามวงษ์ WARATTAPOB Youtube 的精選貼文
- 關於walmart china 在 李根興 Edwin商舖創業及投資分享 Youtube 的最讚貼文
- 關於walmart china 在 Walmart China Home Office - Big Box Retailer, Local Business 的評價
walmart china 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
บริษัทเทคโนโลยี กำลังเจอศึกรอบด้าน /โดย ลงทุนแมน
หลายปีที่ผ่านมา หลายคนคงได้เห็นการดิสรัปต์ของบริษัทเทคโนโลยีรุ่นใหม่
ที่ได้ส่งผลกระทบรุนแรง จนบริษัทยักษ์ใหญ่ดั้งเดิมบางแห่งปรับตัวไม่ทัน
เช่น Netflix บริการดูหนังสตรีมมิง ที่เข้ามาทดแทนการเช่าแผ่นซีดีจากร้าน Blockbuster
หรือ Facebook เครือข่ายสังคมออนไลน์
ที่เข้ามาแย่งส่วนแบ่งเม็ดเงินค่าโฆษณามหาศาล
และสามารถทำรายได้จากค่าโฆษณาระดับ 8 แสนล้านบาทต่อปี
ธุรกิจเหล่านี้ ทำให้หลายบริษัทในอุตสาหกรรมดั้งเดิมอย่างหนังสือพิมพ์และโทรทัศน์
ได้รับผลกระทบโดยตรง และหลายรายก็ต้องล้มหายตายจากไป
แม้ว่าเมื่อก่อน บริษัทเหล่านี้จะดิสรัปต์ธุรกิจเดิมจนก้าวขึ้นมาเป็นยักษ์ใหญ่ในปัจจุบัน
แต่สถานการณ์ตอนนี้ ดูเหมือนกับว่าบริษัทที่กล่าวมาทั้งหมด
มีขนาดใหญ่จนหลายธุรกิจทับซ้อนกันและกำลังแข่งขันกันเอง
แล้วความท้าทายที่บริษัทเทคโนโลยีต้องเจอ มีอะไรบ้าง ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ช่วงแรกสำหรับการเติบโตของบริษัทเทคโนโลยี
ส่วนใหญ่จะเป็นการเข้ามาชิงส่วนแบ่งตลาดภายในอุตสาหกรรมเดิม
ด้วยการหาสินค้าและบริการที่ช่วยแก้ปัญหาให้ผู้บริโภคในส่วนที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข
และด้วยความที่เป็นบริษัทเทคโนโลยี การขยายธุรกิจจึงทำได้อย่างรวดเร็ว
พอถึงจุดหนึ่ง พบว่าตัวเองได้กลายเป็นบริษัทขนาดยักษ์ในอุตสาหกรรมเสียแล้ว
สะท้อนมาจากบริษัทที่มีมูลค่ามากที่สุด 5 อันดับแรกของโลก
อันดับที่ 1 Apple
อันดับที่ 2 Microsoft
อันดับที่ 3 Saudi Aramco
อันดับที่ 4 Amazon
อันดับที่ 5 Alphabet เจ้าของ Google และ YouTube
จะเห็นได้ว่าจาก 4 ใน 5 บริษัทเป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทั้งสิ้น
และหากเราไปดูอัตราการเติบโตของบริษัทเหล่านี้ ก็จะเรียกได้ว่าเติบโตแบบก้าวกระโดด
คำถามต่อมาคือ บริษัทควรจะทำอย่างไรต่อ
ในเมื่อธุรกิจเริ่มใหญ่ขึ้น แต่มีทรัพยากรให้ใช้อีกมากมาย
คำตอบที่ได้ จึงเป็นการข้ามไปแข่งขันในอุตสาหกรรมอื่น
โดยการใช้ Ecosystem ของตัวเองให้เป็นประโยชน์ นั่นจึงกลายเป็นที่มาว่า
ทำไมเหล่าบริษัทเทคโนโลยีหลังจากสำเร็จแล้ว ก็จะเริ่มเข้าไปแข่งขันกันเอง
เช่น Facebook ที่เริ่มต้นจากการเป็นแพลตฟอร์มสังคมออนไลน์
ซึ่งเมื่อก่อนนั้นมีรายได้จากค่าโฆษณาที่เป็นรูปภาพและตัวอักษรเท่านั้น
แต่บริษัทเองเห็นว่าโฆษณาแบบเดิมใหญ่มากแล้ว
จึงต้องหาช่องทางรายได้เพิ่มเติม
และพบว่าโฆษณาวิดีโอสามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นอีกเยอะ
Facebook ขยับมาสู่การสร้าง Ecosystem ให้กับเหล่าผู้ผลิตคอนเทนต์วิดีโอ
โดยมีฐานผู้ใช้งานในมือหลายพันล้านบัญชีอยู่แล้ว
การที่ Facebook เข้ามาทำแบบนี้ ก็ถือเป็นการเข้ามาแย่งส่วนแบ่งและเป็นการแข่งขันกับ YouTube ทันที
และในช่วงไม่กี่ปีมานี้ Facebook ได้เพิ่มฟังก์ชันใหม่ขึ้นมาคือ Marketplace รวมถึง Dating
แสดงให้เห็นว่าทางบริษัทกำลังขยายธุรกิจไปสู่อุตสาหกรรมอื่นเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จึงไม่ใช่เรื่องน่าแปลกใจเลยที่ว่าทำไมสุดท้ายบริษัทเทคโนโลยีต่างต้องแข่งขันกัน
หรืออย่างบริษัท SEA เองที่เริ่มต้นจากการทำธุรกิจ Garena ผู้ให้บริการแพลตฟอร์มเกม
แต่ต่อมาก็ได้รุกเข้าสู่ตลาดอีคอมเมิร์ซ ด้วยแพลตฟอร์ม Shopee
และขณะนี้บริษัทก็เริ่มจริงจังกับธุรกิจการเงินอย่าง AirPay ซึ่งเพิ่งเปลี่ยนชื่อเป็น ShopeePay
Alibaba และ Tencent ในประเทศจีนก็ไม่ต่างกัน
แม้ว่าเริ่มแรกทั้งคู่จะทำธุรกิจไม่เหมือนกัน
Alibaba เริ่มจากการเป็นอีคอมเมิร์ซ
Tencent เน้นเกมออนไลน์และแอปพลิเคชัน WeChat
แต่ภายหลัง Alibaba และ Tencent กำลังเข้ามาแข่งธุรกิจในพื้นที่เดียวกันทั้งทางอ้อมและทางตรง
ในปี 2013 Alibaba มีส่วนแบ่งธุรกิจอีคอมเมิร์ซที่ 62%
แต่ปีที่แล้วกลับลดลงเหลือเพียง 51%
เหตุผลสำคัญก็เพราะว่าการเติบโตของ Pinduoduo และ JD.com
อีคอมเมิร์ซที่ได้รับเงินระดมทุนจาก Tencent กำลังเข้ามาชิงส่วนแบ่งตลาดอย่างมีนัยสำคัญ
โดยเฉพาะ Pinduoduo ที่สามารถเติบโตได้อย่างก้าวกระโดด
หากย้อนกลับไปในปี 2018 Pinduoduo มียอดขายคิดเป็นราว 4% ของ Alibaba เท่านั้น
แต่ในปีที่ผ่านมา ยอดขายของ Pinduoduo ขยับมาเป็น 10% ของ Alibaba เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
นอกจากนี้ Alipay กับ WeChat Pay ของ Tencent
ก็ยังแข่งขันกันในธุรกิจกระเป๋าเงินดิจิทัลโดยตรง อีกด้วย
ซึ่งนอกจากการแข่งขันกันในเชิงธุรกิจแล้ว
กฎเกณฑ์ข้อบังคับระหว่างบริษัทก็เริ่มมีการควบคุมที่เพิ่มมากขึ้น
ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการป้องกันข้อมูลบัญชีผู้ใช้งาน
ในกรณีของ Apple ก็ได้ให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกได้ว่าจะทำการป้องกันการเข้าถึงข้อมูลของตนจากแพลตฟอร์มโซเชียลอย่าง Facebook หรือไม่
จุดนี้จะทำให้ประสิทธิภาพของโฆษณาบน Facebook ลดลงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
อีกความท้าทายที่เห็นได้ชัดก็ยังมีเรื่องของ การกลับมาของบริษัทยักษ์ใหญ่เดิม
หลังจากที่เหล่าบริษัทยักษ์ใหญ่ดั้งเดิม
โดนบริษัทเทคโนโลยีน้องใหม่เข้ามาดิสรัปต์เป็นเวลานาน
บางบริษัทที่สามารถปรับตัวและอยู่รอดได้
ก็เหมือนจะกำลังรุกกลับและปรับตัวให้เข้าแข่งขันได้อีกครั้ง
อย่าง Disney เองหลังจากปล่อยให้ Netflix
นำคอนเทนต์ของทางบริษัทไปให้บริการอยู่ในช่วงเวลาหนึ่ง
ปัจจุบัน Disney ก็ได้ลุกขึ้นมาพัฒนาธุรกิจสตรีมมิงเป็นของตัวเอง
จนกลายมาเป็นแพลตฟอร์มสตรีมมิงที่เรียกว่า “Disney+”
ที่เติบโตแบบก้าวกระโดด จนตอนนี้มีผู้สมัครใช้บริการ 100 ล้านคนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
สำหรับจุดแข็งของบริษัทเก่าแก่ขนาดใหญ่ ก็คือ ความสามารถในการเข้าถึงเงินทุนและฐานะทางการเงินที่มั่นคง
ในกรณีของ Disney ที่มีหนี้สินระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเพียง 0.5 เท่า
ในขณะที่ Netflix มีหนี้ระยะยาวต่อทุนสูงถึง 1.4 เท่า
สะท้อนให้เห็นว่า Disney ยังมีความสามารถในการจัดหาเงินทุนเพื่อขยายกิจการได้อีกมากในอนาคต
นอกจากนี้ Disney ยังมี Ecosystem ที่ครบวงจรอีกด้วย
เช่น สวนสนุก โรงแรม สื่อต่าง ๆ อย่าง ABC ซึ่งเป็น 1 ใน 6 ช่องฟรีทีวีใหญ่ที่สุดในสหรัฐฯ
รวมถึงลิขสิทธิ์ต่าง ๆ อีกมากมาย ทั้ง Marvel, Star Wars และ Pixar
และสิ่งเหล่านี้จะช่วยส่งเสริมให้ธุรกิจยิ่งแข็งแกร่งขึ้นไปอีก
จากตรงนี้ ก็ดูเหมือนว่าตอนนี้ Netflix อาจจะเจอกับการตีกลับครั้งใหญ่เข้าให้แล้ว
นอกจากอุตสาหกรรมภาพยนตร์แล้ว
อุตสาหกรรมค้าปลีกและค้าส่งก็เป็นเช่นเดียวกัน
ด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบัน ทำให้เหล่าค้าปลีกแบบดั้งเดิม
อย่างบริษัทยักษ์ใหญ่ Walmart สามารถเข้ามาตีตลาดผ่านช่องทางออนไลน์ได้ง่ายขึ้น
ถือเป็นเรื่องน่ากังวลที่เหล่าบริษัทเทคโนโลยีต้องรับมือกับบริษัทยักษ์ใหญ่ดั้งเดิม
ที่มีความได้เปรียบทั้งด้านฐานะการเงินของบริษัทและ Ecosystem เดิมของตน
ศึกรอบด้านของบริษัทเทคโนโลยียังไม่ได้หมดเพียงแค่นี้
เพราะ “กฎหมายของแต่ละประเทศ” ก็เป็นอีกประเด็นที่เริ่มถูกพูดถึงกันมากขึ้น
นั่นก็เพราะว่าบริษัทเทคโนโลยีหลายแห่งใหญ่จนเรียกได้ว่าผูกขาด
อุตสาหกรรมนั้นไปโดยปริยาย ซึ่งในช่วงที่ผ่านมาหลายประเทศทั่วโลก
ก็เริ่มเข้ามาออกเกณฑ์การควบคุมเพื่อลดปัญหาดังกล่าว
เช่น สหภาพยุโรปกำลังตรวจสอบอำนาจการผูกขาดของเหล่าบริษัทเทคโนโลยีขนาดใหญ่
ประเทศออสเตรเลียเองก็เพิ่งออกกฎหมายบังคับให้บริษัทเทคโนโลยีต้องจ่ายเงิน
สำหรับการแชร์เนื้อหาข่าวสารต่าง ๆ
ทางฝั่งประเทศจีน รัฐบาลกำลังเข้ามาควบคุมการผูกขาดของบริษัทเทคขนาดใหญ่เช่นกัน
เช่น Alibaba ที่เพิ่งถูกรัฐบาลสั่งปรับเงินครั้งที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์จีน
คิดเป็นมูลค่าความเสียหายราว 8.8 หมื่นล้านบาท
จากการที่ Alibaba บังคับให้เหล่าร้านค้าในแพลตฟอร์มของตน ไม่สามารถไปขายกับแพลตฟอร์มอื่นได้
ย้อนกลับไปก่อนหน้านั้น ก็ยังมีเรื่องของ Ant Group บริษัท Fintech ในเครือ Alibaba
ที่ถูกรัฐบาลสั่งระงับการ IPO จากการที่รัฐกลัวเสียอำนาจในการควบคุมธุรกิจการเงินในประเทศ
นอกจากนี้ บริษัทเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่กำลังโดนรัฐบาลไล่ตรวจสอบเรื่องการผูกขาด
ก็ยังมี Tencent, ByteDance, JD.com และอื่น ๆ อีกมากมาย รวมแล้วถึง 34 บริษัทเลยทีเดียว
จากเรื่องราวทั้งหมดนี้จะเห็นได้ว่าบริษัทเทคโนโลยีในตอนนี้
นอกจากจะต้องแข่งขันกันเองแล้ว ก็ยังต้องมาเผชิญกับธุรกิจดั้งเดิม
ที่สามารถปรับตัวและกลับเข้ามาร่วมแข่งขัน
รวมถึงกฎเกณฑ์จากทางภาครัฐในแต่ละประเทศ เช่นกัน
ก็ดูเหมือนว่า เหตุการณ์เหล่านี้ไม่ใช่เพียงผลกระทบระยะสั้นเหมือนกับโรคระบาดที่มาแล้วก็ไป
แต่อาจจะกลายมาเป็นศึกรอบทิศทางของบริษัทเทคโนโลยี
ที่ยังไม่รู้ว่าจะต้องใช้เวลาเท่าไร กว่าศึกนี้จะจบลง..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://backlinko.com/disney-users
-https://www.economist.com/business/2021/02/27/the-new-rules-of-competition-in-the-technology-industry
-https://www.jitta.com/stock/nasdaq:pdd/factsheet
-https://www.jitta.com/stock/nyse:baba/factsheet
-https://www.bloomberg.com/news/articles/2021-04-10/china-fines-alibaba-group-2-8-billion-in-monopoly-probe
-https://www.jitta.com/stock/nasdaq:nflx/financial
-https://www.jitta.com/stock/nyse:dis/financial
-https://www.economist.com/business/2021/05/20/how-to-thrive-in-the-shadow-of-giants
walmart china 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
Fortune นิตยสารอายุเกือบ 100 ปี ที่ตอนนี้ เจ้าของคือคนไทย /โดย ลงทุนแมน
ในวงการธุรกิจ ถ้าอยากรู้ข้อมูลบริษัทที่มีรายได้มากสุดในโลก
หลายคนก็จะไปดูการจัดอันดับ โดยนิตยสาร “Fortune”
เคยสงสัยกันไหมว่า ทำไม Fortune ถึงเป็นแหล่งอ้างอิงอันดับรายได้บริษัท
แล้วปัจจุบัน ใครเป็นเจ้าของนิตยสารเล่มนี้ ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
Fortune เป็นนิตยสารธุรกิจ เศรษฐกิจ และการเงิน
วางขายครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี 1929 หรือ 92 ปีที่แล้ว
ในช่วงเวลาดังกล่าว สหรัฐอเมริกา ได้เผชิญกับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งรุนแรง หรือที่เรารู้จักกันในชื่อ “Great Depression”
ด้วยเหตุนี้ คุณ Henry Luce ซึ่งเป็นเจ้าของนิตยสารข่าวรายสัปดาห์ชื่อดังอย่าง นิตยสาร Time
จึงต้องการตีพิมพ์นิตยสารเล่มใหม่ เพื่ออธิบายถึงสถานการณ์เศรษฐกิจและธุรกิจโดยเฉพาะ
และนี่ก็คือจุดเริ่มต้นของนิตยสาร Fortune
ข้อแตกต่างระหว่าง Fortune กับนิตยสารอื่นในสมัยนั้น
คือ การเขียนบทความยาว ที่วิเคราะห์ประเด็นธุรกิจต่าง ๆ ในเชิงลึก
ทำให้แม้บริษัทตั้งราคาขายนิตยสารไว้ที่เล่มละ 1 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งถือว่าค่อนข้างแพงในเวลานั้น
แต่ผู้บริโภคก็เชื่อมั่นว่า มันคุ้มค่ากับเนื้อหาพิเศษที่อยู่ภายในเล่ม
ทำให้มีคนจองซื้อ Fortune ฉบับเปิดตัวถึง 30,000 เล่ม และได้รับความนิยมจากผู้อ่านอย่างต่อเนื่อง
โดยในปี 1937 นิตยสารทำยอดขายได้สูงกว่า 460,000 เล่ม
ต่อมาในปี 1955 กองบรรณาธิการของ Fortune พบเรื่องน่าประหลาดใจว่า
ที่ผ่านมา ยังไม่มีสื่อสำนักไหน รายงานข้อมูลเปรียบเทียบรายได้ของบริษัทต่าง ๆ ไว้เลย
และมองเห็นว่าข้อมูลลักษณะนั้น น่าจะเป็นประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ ที่สามารถทำความรู้จักกับบริษัทอื่น ๆ เพื่อหาโอกาสขยายตลาดได้ และส่งผลให้เศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา เติบโตอย่างแข็งแกร่งยิ่งขึ้น
นับตั้งแต่นั้นมา นิตยสาร Fortune จึงได้จัดอันดับบริษัทที่มีรายได้มากสุด 500 อันดับแรก
หรือที่เรียกว่า “Fortune 500”
โดยตอนแรก พวกเขาทำการจัดอันดับแค่บริษัทในสหรัฐอเมริกาเท่านั้น
จนกระทั่งในปี 1995 ทาง Fortune ก็ขยายฐานข้อมูลให้ครอบคลุมบริษัทจากทั่วโลก เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ธุรกิจ ที่เกิดการค้าขายกันระหว่างประเทศมากขึ้น
ในปัจจุบัน จากการจัดอันดับ Fortune Global 500 ทำให้เราเห็นว่า
บริษัทที่มีรายได้มากสุด 500 อันดับแรกของโลกนั้น มีรายได้รวมกันประมาณ 1,050 ล้านล้านบาท
ซึ่งคิดเป็น 1.5 เท่า ของ GDP สหรัฐอเมริกา
โดยบริษัทที่มีรายได้สูงสุด 5 อันดับแรกของโลก ประจำปี 2020 ได้แก่
อันดับที่ 1
Walmart บริษัทห้างค้าปลีก จากประเทศสหรัฐอเมริกา
รายได้ 16.5 ล้านล้านบาท
อันดับที่ 2
Sinopec Group บริษัทน้ำมัน จากประเทศจีน
รายได้ 12.8 ล้านล้านบาท
อันดับที่ 3
State Grid บริษัทพลังงานไฟฟ้า จากประเทศจีน
รายได้ 12.1 ล้านล้านบาท
อันดับที่ 4
China National Petroleum บริษัทน้ำมัน จากประเทศจีน
รายได้ 11.9 ล้านล้านบาท
อันดับที่ 5
Royal Dutch Shell บริษัทน้ำมัน จากประเทศเนเธอร์แลนด์
รายได้ 11.1 ล้านล้านบาท
ทั้งนี้ บริษัทจากประเทศไทยเพียงรายเดียว ที่อยู่ใน Fortune Global 500
ก็คือ ปตท. ซึ่งมีรายได้อยู่ที่ 2.2 ล้านล้านบาท เป็นอันดับที่ 140 ของโลก
แล้วปัจจุบัน ใครเป็นเจ้าของนิตยสาร Fortune ?
ที่ผ่านมา นิตยสาร Fortune เป็นแบรนด์ภายใต้การบริหารของบริษัท Time Inc. ที่ก่อตั้งโดยคุณ Henry Luce มาโดยตลอด
แต่ในเดือนพฤศจิกายน ปี 2017
บริษัทสื่อสัญชาติอเมริกัน ชื่อว่า Meredith Corporation ได้เข้าซื้อกิจการของ Time Inc.
และด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปอ่านสื่อบนอินเทอร์เน็ตมากขึ้น
ส่งผลให้ยอดขายของสื่อแบบดั้งเดิมอย่าง นิตยสาร ปรับตัวลดลง
Fortune ต้องปรับตัวมาทำนิตยสารออนไลน์ เพื่อหารายได้จากช่องทาง Subscription
จุดเปลี่ยนสำคัญเกิดขึ้นอีกครั้ง เมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี 2018
บริษัท Meredith จึงตัดสินใจประกาศขายธุรกิจนิตยสาร Fortune
และผู้ที่เข้ามาซื้อกิจการต่อ ก็คือ..
คุณชัชวาลย์ เจียรวนนท์
ซึ่งเป็นหลานชายของคุณธนินท์ เจียรวนนท์ เจ้าของอาณาจักรเครือซีพีนั่นเอง
โดยคุณชัชวาลย์ ได้ซื้อนิตยสาร Fortune ไปด้วยเงินมูลค่าราว 5,000 ล้านบาท
ซึ่งเป็นการลงทุนในนามส่วนตัว ไม่เกี่ยวข้องกับเครือซีพีแต่อย่างใด
นิตยสารชื่อดังของวงการธุรกิจของโลก ที่มีคนติดตามอ่านกันทั่วโลก มานานเกือบร้อยปี
ก็ไม่น่าเชื่อว่า มาถึงวันนี้ จะมีเจ้าของ เป็นคนไทย นั่นเอง..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://en.wikipedia.org/wiki/Fortune_(magazine)
-https://fortune.com/global500/
-https://en.wikipedia.org/wiki/Fortune_Global_500
-https://www.nytimes.com/2018/11/09/business/dealbook/fortune-magazine-sold.html
-https://techsauce.co/news/member-of-cp-board-buys-fortune-magazine
walmart china 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的最讚貼文
Support us on Patreon:
http://patreon.com/wastenotwhynot
Subscribe to our newsletter:
https://wastenotwhynot.substack.com/
Follow us on Twitter:
https://twitter.com/wastenotpod
Send your questions to:
ask@wastenotwhynot.com
SHOW CREDIT
Emily Y. Wu (Executive Producer)
https://twitter.com/emilyywu
Nate Maynard (Producer / Host)
https://twitter.com/N8MAY
Yu-Chen Lai (Producer / Editing)
https://twitter.com/aGuavaEmoji
Ghost Island Media (Production Company)
https://twitter.com/ghostislandme
www.ghostisland.media
MB01WR8IJHWPCOG
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/j8FN0t1qm7k/hqdefault.jpg)
walmart china 在 วรัทภพ รชตนามวงษ์ WARATTAPOB Youtube 的精選貼文
?แจกหนังสือฟรี?" เงิน มา ง่ายๆ" เขียนโดย อ.วรัทภพ รชตนามวงษ์ มีเนื้อหามากถึง 357 หน้า รับหนังสือฟรี! แอดไลน์ @warattapob (มี@ นำหน้า) หรือกดลิงก์นี้เพื่อแอดไลน์
? https://line.me/ti/p/~@warattapob
ผมและครอบครัวพามาห้าง Walmart ที่เมืองลี่เจียง เนื่องในโอกาสวันเกิดของน้องซีซี เลยอยากจะพาซื้อของขวัญที่ห้างนี้ เท่าที่ผมได้ไปดู ส่วนใหญ่ที่น้องซีซีไปเลือกนั้น จะเป็นส่วนของโซน ของเล่น ของประดับตกแต่งภายในห้องส่วนใหญ่
อีกส่วนหนึ่งที่ผมประทับใจห้างแห่งนี้ก็คือ ระบบการชำระเงินของที่นี่ แทบจะไม่มีแคชเชียร์แล้วครับ "ต้องซื้อเอง สแกนเอง และจ่ายเอง" แล้วให้พนักงานช่วยเหลือตรวจสอบเท่านั้น
มันมีหน้าตาอย่างไรต้องไปดูครับ...
? พบกับวิดีโอใหม่ทุกวัน ? ถ้าคุณอยากประสบความสำเร็จและรวย "เร็วขึ้น"
จากประสบการณ์การทำธุรกิจไทย-จีน มาแล้ว 14 ธุรกิจของผม
? คลิกลิงก์แล้วกด “SUBSCRIBE - ติดตาม และกดกระดิ่งแจ้งเตือน ตอนนี้เลย!! ?
https://www.youtube.com/channel/UC6GkGouzOitA6vUzOEBEqwA?sub_confirmation=1
—
// ดูวิดีโอของ "วรัทภพ" ตามเพลย์ลิสต์
? คลิปใหม่ล่าสุด (มีคลิปใหม่ทุกวัน) https://bit.ly/2OCDdvb
========================
?ลงทุนอะไรดี https://bit.ly/2kH0Lm0
?วิธีขายของ LAZADA https://bit.ly/2TUxuRn
?วิธีขายของ SHOPEE https://bit.ly/2lJ5LHe
?วิธีสั่งสินค้าจากจีน https://bit.ly/2IERdmE
?วิธีสร้างรายได้บน YOUTUBE https://bit.ly/2NT8l8L
?การทำตลาดจีน และส่งออกจีน https://bit.ly/2GWdITq
?วิธีขายสินค้าแบบ ดรอปชิป https://bit.ly/2x2sOPf
?WARATTAPOB PODCAST https://bit.ly/2SBlrHR
?วิธีทำธุรกิจให้ประสบความสำเร็จ https://bit.ly/2lRZuZn
?วิธีปลดหนี้ https://bit.ly/2PKNplE
========================
??VLOG IN CHINA ชีวิตในจีนของผม https://bit.ly/2AqaFNB
??VLOG IN THAILAND ชีวิตในไทยของผม https://bit.ly/2AUvnWf
========================
?แกะคำคม ข้อคิด นักปราชญ์ และนักธุรกิจ https://bit.ly/2SDzHjh
?5 นาที หาเงินแบบมหาเศรษฐี https://bit.ly/2k9oyuu
?รีวิวหนังสือที่ผมชอบ http://bit.ly/2lRZJnf
?วิธีเริ่มต้นธุรกิจ ในปัจจุบัน https://bit.ly/2ChCNT7
?ความรู้ หาเงิน เพิ่มรายได้ ที่จะทำให้คุณรวยเร็วขึ้น https://bit.ly/2CR2Jqc
?เคล็ดลับ การตลาดและการขาย https://bit.ly/2M8P7cV
?ไอเดียธุรกิจเงินล้าน https://bit.ly/2TrY2IT
?พัฒนาตัวเอง เพื่อความสำเร็จในด้านที่ต้องการ https://bit.ly/2LTPms2
?แรงบันดาลใจและกำลังใจ ในการใช้ชีวิต https://bit.ly/2TKQAbW
?รีวิว ธุรกิจจีนและเศรษฐกิจจีน https://bit.ly/2M8Phkx
?ความรู้ไทย-จีน อื่นๆ http://bit.ly/2kIZaMn
—
// วรัทภพ รชตนามวงษ์ คือ ใคร?
ผม "วรัทภพ รชตนามวงษ์" เป็นคนไทย เกิดที่จังหวัดเชียงใหม่
เป็นผู้ประกอบการที่ทำธุรกิจมาแล้ว 14 ธุรกิจ
ทั้งในประเทศไทย และ จีน ตั้งแต่ปี พ.ศ.2545 จนถึงปัจจุบัน
ผมตั้งใจทำสื่อเพื่อแบ่งปันความรู้และประสบการณ์
ให้คนรุ่นใหม่ที่อยากประสบความสำเร็จในชีวิตและรวย “เร็วขึ้น”
?คุณสามารถดูคลิปจากลิงก์ล่างนี้ ว่าผมมีประสบการณ์ธุรกิจอะไรบ้าง?
http://bit.ly/2kHDgt4
—
// ติดตาม วรัทภพ รชตนามวงษ์ เพิ่มเติมได้ที่
Website : https://www.warattapob.com
?SOCIAL
Instagram : https://www.instagram.com/warattapob_rachatanamwong
Facebook : https://fb.me/WarattapobRachatanamwong
YouTube: https://www.youtube.com/c/WarattapobRachatanamwong
Line official : http://line.me/ti/p/~@warattapob
Twitter : https://twitter.com/warattapob
Tiktok : https://www.tiktok.com/@warattapob
?PODCAST
--สำหรับ Android
Soundcloud : https://bit.ly/2QjfVYm
Spotify : https://spoti.fi/2Jcwh6Y
--สำหรับ iOS
Apple Podcast : https://apple.co/2QjW5fM
—
#WARATTAPOB #VLOGINCHINA #เที่ยวจีน
วิดีโอนี้เกี่ยวกับ เที่ยวจีน - พาน้องซีซี ซื้อของขวัญวันเกิด ที่ห้าง WALMART ในลี่เจียง จีน | VLOG IN CHINA EP180
LINK https://youtu.be/v0SCxGlOduc
LINK https://youtu.be/v0SCxGlOduc
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/v0SCxGlOduc/hqdefault.jpg)
walmart china 在 李根興 Edwin商舖創業及投資分享 Youtube 的最讚貼文
哈佛知識分享 - 《做生意如何突破? 》
哈佛大學其中一個最出名嘅教授Michael Porter 話做生意有四條路揀,條條都得,但最忌就係 Stuck In The Middle!
你呢? 又選擇了那一條路? 或者其實自己行緊什麼路都不清楚?
全文內容 。。。。。。。。
最近肺炎限制令關係,有時星期六4個人食飯傾下生意經,互相俾下意見睇下盤生意有乜可以做好啲。 有興趣參加,可以whatsapp 你張咭片給我助手 Suki 55661335。 (免費,我請食飯!)
其中一場, 幾位朋友做資產管理、海外房地產中介同埋KOL Marketing. 我分享咗教授Michael Porter 最出名嘅 Competitive Strategy 競爭策略。
佢話做生意要贏人,(1) 離唔開平過人或者靚過人 - Cost vs Differentiation Strategy. (2) 你可以做一個好闊嘅市場或者針對性某個市場 - Broad vs Focus Strategy.
咁樣計一計,即係等於你有四格選擇,四條路揀!
(1) Broad Cost 又名 Cost Leadership。闊得嚟夠平, 好似淘寶、佳寶超市、Walmart、大家樂、耀才證券咁,個個人都係你嘅客, 質素唔高,但佢哋幫襯你最大原因就係夠平、夠方便。 你成本控制得低, 售價雖然平咗兩蚊,但你成本慳咗四蚊,自然賺多啲。
(2) Cost Focus 即係專注某班顧客群或者特定產品,你做到最平,成本最低。例如 QB House,專注係啲想快靚正剪個頭嘅男士。鞋佬,針對上班一族及對皮鞋有基本要求的女士。 一樣,盡量做到成本下降4蚊,但售價只需下降兩蚊,or something like that.
(3) Differentiation 闊得嚟係人都知佢啲嘢特別靚及貴。例如 CitySuper, 啲嘢靚! 但都好貴。你又吹佢唔脹,好多人繼續幫襯佢。又例如 Mercedes Benz / BMW。私家車? 好多人都需要。貴? 但啲人為咗個品牌就係願意俾多啲錢。 希望做到成本上升兩蚊,但售價可以上升四蚊。
(4) Differentiation Focus 鎖定某個客戶群或者特定產品,去整靚啲及賣貴啲。LV 賣嘅手袋, 林寶堅尼賣嘅跑車, Patek Philippe (柏德菲臘)賣嘅手錶, B&O 賣嘅音響,基本上好多嘅名牌子,都係行 Differentiation Focus Strategy,做專啲、做靚啲、服務得好啲、賣多啲廣告/靚啲嘅位置,咁就可賣貴啲。 都係成本上升兩蚊,希望售價賣貴四蚊。
教授話以上四種策略,冇話對與錯,都有好多成功例子。 但最忌嘅就係 Stuck in the Middle (夾係中間) ,四種都唔係。
平? 人哋又唔會搵你。靚? 人哋又唔諗起你。求其想買啲嘢? 啲錢又洗唔到去你道。專啲? 有什麼特性? 特別需求? 你個名又浮唔上嚟。
即係等於你乜都唔係! 最終結果? 繼續努力做,it's OK,搵食就應該無問題,但發達就無你份。 通常都係喺個市場繼續浮浮沉沉, 突破唔到!
點解搞成咁? 最大原因,可能係因為你唔識 SAY NO! 人客想要乜,你就畀佢乜。變成你乜都做,就變成乜都唔專,效率下降,自然成本上升,品質參差。 變相成本上升四蚊,售價只能夠上升兩三蚊。或者成本下降兩蚊,售價反而下降三四蚊。 變成做嘢好多,但錢未必賺多。
教授 Michael Porter 話任何事情都係一個「取捨」- 要取、先捨。 包括我自己在內, 我同全公司同事講,我哋係行緊第(4),即係Diifferentiation Focus Strategy -「做專啲、做靚啲」。 因此我淨係做香港幾千萬以內的街舖, 所有樓上舖、地庫、劏場、工廈、商廈、住宅、地盤、酒店、 車位、骨灰龕位、亞洲、非洲,我哋全部唔掂。 我只係想全香港人知道,如果你想買香港街舖,一億以內,我希望你諗起我。 我唔係最平,但我啲舖係最靚,最有品質保證。 老實說,我目的都只係希望收入上升多過成本上升,搞完一大輪嘢,都只係想賺多啲錢啫! 因為我都親身係哈佛上過Michael Porter 堂, 因此我堅決行落去。對好多嘢都 Say No!
你呢? 呢四格,你又行緊邊格呢? 你又識唔識得點 Say No? Stuck In The Middle is OK, 好多千千萬萬個中小企都係 Stuck In The Middle - 搵到食,但未必搵到大茶飯。但長遠,如果你想突破, 希望人哋一諗,就諗起你,你必須要作出個取捨。 如果我乜物業/乜地區都買,我荷包嘅錢遠遠唔夠人多,我只係一個寂寂無名嘅普通投資者, 今日亦都唔會企係道同你講呢番說話。
大部分創業者成功,開始嘅時候都係行第(2) Cost Focus 或第(4) Differentiation Focus. 因為通常都要先專注某方面, 成功突圍,先再唸第(1)及(3)格 - Broaden the scope 企穩後, 拉闊戰線,以戰養戰,市場日後更大。Amazon 1995年都係由賣書開始,先行第二格 Cost Focus, 但始終賣書嘅市場有 限,佢先企穩,再 Move 去第(1) Cost Leadership,而家基本上乜都賣。
我雖然同 Jeff Bezos 無得比,but Me too! 我由街舖做起,希望先在香港街舖稱霸,之後幾年後我哋公司一樣有計劃好自然地伸展至全個商場、全幢銀座式大廈,再伸展至其他工商/住宅/酒店/旅館/ whatever 物業類別。I don't know, will see ... 但我同全公司講,我哋唔會呢世只買舖,but whatever we do, we need to No. 1 in that category before we move on! 一係唔做,要做就第一。
你呢? 未來幾年幾十年又揀邊一格呢? 你又能否做到你嘅category (類別)第一先呢? 浮浮沉沉冇問題, 養活咗99%嘅中小企,但只有持續地做到第一,長遠先能夠突破!
End frame: 「只有持續地做到你類別的第一,長遠先能夠突破!」
。。。。。。。。。。。。。
聯絡李根興 Edwin, whatsapp (+852) 90361143
有興趣參加【RAINSTORMING For 4 - 傾下你盤生意】?
Covid 第三波後,搞了幾場生意分享早/午餐會,希望對大家都有所啟發。對我自己也是溫故知新,我學好多嘢?
我不定期在星期六搞,我請食 飯? 限聚令,4位 (including me).
AGENDA
- 介紹自己及生意
- Do a SWOT analysis of your business - Srength, Weakness, Opportunity and Threat (強處、弱處及危、機)
- 大家互相交流,畀意見/ideas 如何改善自己及業務
- Takeaway value of the day (總結).
地點是中環。約3小時。
對象: 生意經營者/創業者
有興趣參加的話,請 whatsapp 你的名片給 Suki (我助手) 5566 1335。適合的話,她會再聯絡你。
免費 (我不是靠這行搵食?)。講廣東話,內容部份是英文 English. 我請食飯 ? 大家交個朋友,多謝。
Note: 如果香港肺炎情況突然惡化,我可能會取消。
。。。。。。。。。。
【購買李根興的四本書:
(1) 【李根興的生意哲學】(最新2020年6月出版 - 定價$198)
(2) 【買舖 要買得 PRO】(定價$198)
(3) 【買起金磚頭 - 商舖投資煉金術】(定價$128)
(4) 【買起金蛋鵝 - 生意營商之道】(定價$128)
每本+$30 本地順豐快遞。
想有李根興親筆簽名及 personal message,可跟以下指示付款,whatsapp 付款紀錄給Suki (+852) 5566 1335。.
(1) PayMe:(付款鏈結) https://qr.payme.hsbc.com.hk/2/XnedEJjfaG6ipAmbSoYWP
(2) FPS轉數快 or Alipay:97453555
(3) Citibank花旗銀行戶口:
250-390 10935983 (Lee Edwin Kan Hing)
(4) Bank of China 中國銀行戶口:
012-878-2-0106664 (Lee Edwin Kan Hing)
(5) HSBC 滙豐銀行戶口:
828-594853-833 (Lee Edwin Kan Hing)
(6) Wing Lung永隆銀行戶口:
020-644-0000-3123 (Bridgeway Development Company Limited)
(7) Paypal to edwinlee@bwfund.com
?付款後,請將以下資料whatsapp至+852 5566 1335 (Suki):
(1) 入數紀錄
(2) 你希望Edwin在新書上寫什麼名字 或是 “BLANK”?
(3) 取書方法(書本寄出的順序會以收到入數資料的先後次序發出):
- 盛滙辦公室領取:中環皇后大道中16-18號新世界大廈一期1502至3室,辦工時間: 逢星期一至五, 早上9:00至下午6:00 (午飯時間: 中午1:00-2:00),電話 2830 1111。
- 順豐快遞:請提供收件人名稱及地址 (香港及澳門,每本需額外加HK$30運費)
- 海外郵件:郵局平郵寄出(每本需額外加HK$70運費),由於疫情關係郵遞需時1個月至3個月不等
#做生道如何突破
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/uZZBKLzhsGY/hqdefault.jpg)
walmart china 在 Walmart China Home Office - Big Box Retailer, Local Business 的推薦與評價
Walmart China Home Office, Shenzhen, Guangdong, China. 7 likes · 1 talking about this · 131 were here. Big Box Retailer. ... <看更多>