== เลือกหนังแห่งปี ย้อนหลัง 21 ปีล่าสุด ==
2000: In the Mood for Love
นอมินี Memento / Gladiator
เป็นปีที่เลือกไม่ยากเท่าไร เพราะถึงจะชอบ Memento งานของโนแลนมากขนาดไหน แต่ In the Mood for Love เป็นงานที่ตราตรึงในความทรงจำมากกว่า โดยเฉพาะในแง่อารมณ์ของหนัง
2001: A Beautiful Mind
บอกก่อนว่าถ้าเทียบกับทั้ง 21 ปีที่ผ่านมา เราค่อนข้างชอบปี 2001 น้อยสุด เป็นปีที่ไม่ค่อยมีหนังติดท็อปในใจ ขนาด A Beautiful Mind ยังเป็นงานที่อยากเอาโควต้าปี 2001 ไปให้ปีอื่นแทน มีเรื่องอื่นขึ้นหิ้งในใจมากกว่า
2002: Chicago
ในปีเดียวกับ City of God, The Hours, และ Adaptation. ก็ยังคิดว่า Chicago เป็นหนังมิวสิคัลที่ดีมาก ๆ ในรอบหลายสิบปี
2003: The Triplets of Belleville
เป็นแอนิเมชันอันดับต้น ๆ ในใจ เมื่อเทียบกับตัวเลือกอื่นในปีเดียวกันจึงสามารถตัดสินใจเสนอชื่อมาเรื่องเดียวได้เลย
2004: House of Flying Daggers
นอมินี Million Dollar Baby / Eternal Sunshine of the Spotless Mind
ถ้าว่าตามตรงเป็นปีที่ตัดสินใจลำบากมาก เพราะชอบสองเรื่องที่เป็นนอมินีในระดับมาก ๆ เช่นเดียวกัน แต่ถ้าต้องเลือกหนึ่งเดียว คงหยิบงานของ จาง อี้โหมว ที่มีเอกลักษณ์และความโดดเด่นสูงกว่า และในปีนี้ยังมีหนังที่ชอบมากอย่าง Sideways กับ The Incredibles ด้วย
2005: Capote
นอมินี Munich / A History of Violence
เป็นอีกปีที่มีหนังชอบมาก ๆ หลายเรื่อง แต่เรื่องที่ติดค้างในความทรงจำมากสุด ยังไงก็ต้อง Capote ส่วนงานอื่น ๆ ในปีเดียวกัน เราอยากเชียร์ Match Point กับ Thank You for Smoking เป็นม้านอกสายตา
2006: The Lives of Others
นอมินี Casino Royale / Paprika / The Prestige / United 93 / The Fall / Pan's Labyrinth / The Queen / The Departed
โคตรแห่งปีรวมหนังโปรด ทุกเรื่องที่เป็นนอมินีคือสามารถหยิบเป็นหนังอันดับหนึ่งของปีได้หมดเลย แต่ส่วนตัวจะเอียงไปทาง Casino Royale มากที่สุด
2007: 4 Months, 3 Weeks and 2 Days
นอมินี There Will Be Blood
อีกหนึ่งปีที่โหดเพราะมี There Will Be Blood ประชันกับ No Country for Old Men แต่สุดท้ายทั้งสองเรื่องต้องพ่ายให้หนังจากโรมาเนีย
2008: The Dark Knight
นอมินี Frost/Nixon / The Hurt Locker
TDK คือหนังเปลี่ยนมุมมองของเราต่อหนังบล็อกบัสเตอร์ จึงขอเลือกเป็นหนังแห่งปี
2009: City of Life and Death
นอมินี Up in the Air / Mother
ต่อให้ใจจะรัก Up in the Air ขนาดไหน และยก Mother ให้เป็นหนังเกาหลีใต้อันดับหนึ่งในใจ แต่พอเป็นหนังแห่งปีแล้วใจไปทางหนังต่อต้านสงครามคุณภาพเยี่ยมมากกว่า
2010: The Social Network
เอกฉันท์ไม่คิดเยอะ
2011: A Separation
The best film of the decade ไม่ต้องมองหาเรื่องอื่นมาเทียบเลย ในปีนี้มีหนังที่ชอบมากอย่าง Take Shelter, Drive, และ The Descendants ที่น่าเชียร์ด้วยเช่นกัน
2012: Blancanieves
มองคู่แข่งในปีเดียวกันแล้วเลือกได้แบบไม่ลำบากใจเลย
2013: Her
เอาจริงชอบ Her มากนะ แต่พอจะยกให้เป็นหนังแห่งปีเทียบกับปีอื่น ๆ แล้วไม่รู้สึกขนาดนั้น แต่ปีนี้มันไม่มีหนังเรื่องอื่นที่ให้ความรู้สึกระดับ Her ก็เลยชนะไปสบาย ๆ
2014: Birdman
นอมินี Two Days, One Night
ถ้าพูดถึงงานระดับพีคของปีจะมีแค่สองเรื่องที่ว่า ตัดสินใจยากพอสมควรเพราะชอบทั้งสองเรื่อง ที่น่าพูดถึงคือปีนี้เป็นปีที่มีงานม้ามืดน่าเชียร์เยอะมาก เช่น A Hard Day หนังทริลเลอร์อันดับต้น ๆ ในใจ, What We Do in the Shadows ที่โคตรตลก, Phoenix หนังที่โคตรสะเทือนอารมณ์, The Tribe หนังใบ้, และ Ex Machina งานไซไฟที่ดีมาก ๆ ในรอบหลายปี
2015: Steve Jobs
เอกฉันท์ ผู้ท้าชิงแทรกยากมาก
2016: La La Land
ถ้านับหนังสั้นด้วย ปีนี้จะยกให้ San Junipero คือหนังอันดับหนึ่งของปี (เป็นหนึ่งตอนในซีรีส์ Black Mirror)
งานม้ามืดปีนี้ค่อนข้างเยอะ ชอบทั้ง The Handmaiden, Arrival, Tomorrow I Will Date with Yesterday's You, และ Jackie จิ้มเอาได้เลย ดีหมดทุกเรื่อง
2017: One Cut of the Dead
มีหนังเรื่องอื่นที่ชอบเหมือนกัน เช่น 1987: When the Day Comes และ A Fantastic Woman แต่พอเป็นหนังแห่งปีต้องวันคัทซอมบี้งับ ๆ ไปเลย
2018: Andhadhun
นอมินี The Favourite
โคตรหนังทริลเลอร์ตลกร้ายจากอินเดียจะอยู่ในใจเราตลอดกาล เชียร์ให้คนยังไม่ได้ดู จงเปิด Netflix ดูกันเดี๋ยวนี้
2019: Portrait of a Lady on Fire
ต่อให้ปีนี้มีหนังระดับ Parasite และปรากฎการณ์ Avengers: Endgame เราก็ไม่ลังเลสักนิดเดียวที่จะเลือกผู้ชนะแห่งปี
2020: The Father
เอกฉันท์
-------------
แล้วของคุณล่ะ มีเรื่องอะไรกันบ้างครับ
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過4,310的網紅伊格言Egoyan Zheng,也在其Youtube影片中提到,脫口秀是殘忍的嗎?可以拿鄭南榕開玩笑嗎?可以拿客家人開玩笑嗎?可以拿黑人來開玩笑嗎?界線在哪裡? #冷血 #藝術 #歧視 ─── ☞〈冷血告白〉全文連結:https://www.egoyanzheng.com/single-post/2018/07/09/冷血告白 ☞IG:https://www.i...
capote netflix 在 伊格言Egoyan Zheng Youtube 的精選貼文
脫口秀是殘忍的嗎?可以拿鄭南榕開玩笑嗎?可以拿客家人開玩笑嗎?可以拿黑人來開玩笑嗎?界線在哪裡?
#冷血 #藝術 #歧視
───
☞〈冷血告白〉全文連結:https://www.egoyanzheng.com/single-post/2018/07/09/冷血告白
☞IG:https://www.instagram.com/egoyanzheng/
☞請記得按讚、留言、分享、訂閱、小鈴鐺喔。
─────
當一個小說家有多辛苦?我們往往以為藝術創作者都很任性,可以毫無顧忌地消遣他人,消費現實;但其實藝術本身也很可能反過來剝削作者、消費作者自身。脫口秀演員博恩以鄭南榕自焚為題材的笑話引來了諸多批評;而近日也出現了一陣以「客家人很吝嗇」為主題的笑話創作風潮──這很可能都是「藝術嗜血」的例子。這是我們今天的主題,來自伊格言老師的一篇文章:〈冷血告白:論藝術嗜血〉。
上一集我們講述了電影《柯波帝:冷血告白》的故事,Capote採訪滅門血案兇手,寫此非虛構小說《冷血》,但這同時也令他陷入了權力慾、道德兩難與私人情感的困局。冷血的是誰?看似是滅門血案的兇手,但其實也是藝術家Capote自身。
......事實上,作為藝術形式之一種,小說當然也是嗜血的。小說對作者的剝削何其恐怖。小說家的心智,往往必須時常來回擺盪於「極端殘忍冷靜」與「極端溫暖熱情」之間。正如上一集所提到的,因拍攝蘇丹飢荒中的垂死小女孩而飽受抨擊的Kevin Carter──小說家必須冷血(如同攝影師冷靜等待禿鷹翅膀展開之瞬刻),小說家又必須時時充滿同情(才拍得出小女孩的飢餓與痛苦)。作品必須冷酷精準(夠冷血才能辦到),又必須滿懷悲憫(心地柔軟才能辦到)。
所以對於小說家來說,駱以軍所說的「身份移位」、「奪胎換骨」,確實都只是基本功而已。小說家必須分飾多角,設身處地,投入情感,塑造出不同角色的生命──而這些,都屬於極基本的細節。如若缺乏基本功,那麼此一藝術品必然便稱不上是一部好作品。藝術家為此傾注之情感(無論此一情感是冷酷、同情、鄙夷、嘲諷、震驚,或是溫柔)往往正是小說之核心,述說著人性的幽微;而小說此一藝術形式若有任何「深刻」之可能,即在於此。那就是超越在所有「全景」之上的靈光。然而這些靈光,卻可能被小說建築完成後醒目的「全景」所遮蔽。當我們看到一部偉大小說的完成,總會被成品醒目的全景所震攝,忘了這壯闊奇觀的背後,小說家如何艱難地一磚一瓦建造它......
─────
伊格言,小說家、詩人,《聯合文學》雜誌2010年8月號封面人物。
著有《噬夢人》、《與孤寂等輕》、《你是穿入我瞳孔的光》、《拜訪糖果阿姨》、《零地點GroundZero》、《幻事錄:伊格言的現代小說經典十六講》、《甕中人》等書。
作品已譯為多國文字,並於日本白水社、韓國Alma、中國世紀文景等出版社出版。
曾獲聯合文學小說新人獎、自由時報林榮三文學獎、吳濁流文學獎長篇小說獎、華文科幻星雲獎長篇小說獎、中央社台灣十大潛力人物等;並入圍英仕曼亞洲文學獎(Man Asian Literary Prize)、歐康納國際小說獎(Frank O'Connor International Short Story Award)、台灣文學獎長篇小說金典獎、台北國際書展大獎、華語文學傳媒大獎年度小說家等獎項。
獲選《聯合文學》雜誌「20位40歲以下最受期待的華文小說家」;著作亦曾獲《聯合文學》雜誌2010年度之書、2010、2011、2013博客來網路書店華文創作百大排行榜等殊榮。
曾任德國柏林文學協會(Literarisches Colloquium Berlin)駐會作家、香港浸會大學國際作家工作坊(IWW)訪問作家、中興大學駐校作家、成功大學駐校藝術家、元智大學駐校作家等。
香港文匯報專訪:
http://paper.wenweipo.com/2019/09/02/...
香港明報專訪:
https://news.mingpao.com/pns/副刊/artic...
────
小說是什麼?我認為,好的小說是一則猜想──像數學上「哥德巴赫的猜想」那樣的猜想。猜想什麼?猜想一則符號系統(於此,是文字符號系統)中的可能真理。這真理的解釋範圍或許很小,甚至有可能終究無法被證明(哥德爾的不完備定理早就告訴我們這件事);但藝術求的從來便不是白紙黑字的嚴密證明,是我們閱讀此則猜想,從而無限逼近那則真理時的智性愉悅。如若一篇小說無法給我們這樣的智性,那麼,它就不會是最好的小說。
是之謂小說的智性。───伊格言
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/08uARdZjZ00/hqdefault.jpg)
capote netflix 在 伊格言Egoyan Zheng Youtube 的最讚貼文
脫口秀是殘忍的嗎?可以拿鄭南榕開玩笑嗎?可以拿客家人開玩笑嗎?可以拿黑人來開玩笑嗎?界線在哪裡?
#冷血 #藝術 #歧視
───
☞〈冷血告白〉全文連結:https://www.egoyanzheng.com/single-post/2018/07/09/冷血告白
☞IG:https://www.instagram.com/egoyanzheng/
☞FB:https://www.facebook.com/EgoyanZheng
☞請記得按讚、留言、分享、訂閱、小鈴鐺喔。
─────
前幾個月,脫口秀演員博恩以鄭南榕自焚為題材的笑話在網路上引起軒然大波。
然而事實上,類似事件並不罕見──生活中有許多笑話原本就源自於對特定群體的刻板印象或歧視;近日一波以「客家人生性吝嗇」為題材的笑話創作風潮,其實也是這樣。
這總令我們好奇:藝術是嗜血的嗎?藝術能否歧視他人?
藝術創作是否可能是對他人苦難的消費?藝術創作需要遵循現實世界的倫理嗎?
這是本集的主題,來自伊格言老師的一篇文章:〈冷血告白:論藝術嗜血〉。
文章開頭,伊格言帶我們進入了電影《柯波帝:冷血告白》(Capote)的劇情。
這部2005年的電影由已故的奧斯卡影帝菲利普西摩霍夫曼(Philip Seymoure Hoffman)主演;
改編自美國同志作家楚門卡波堤(Truman Capote)的真人真事──1965年,Truman Capote完成了一部述說真實罪行的「非虛構小說」作品《冷血》(In Cold Blood)。
這本書的題材是發生於堪薩斯州小鎮的一家四口滅門血案──兇手潛入農場主人赫伯特‧克拉特(Herbert Clutter)家中意圖偷竊未果,遂殺害了克拉特夫婦和他們的兩名子女。
Capote對血案兇手和案發過程產生好奇,心生《冷血》寫作計畫,並設法前往監獄,採訪落網兇手。
探詢真相之餘,也希望實地經驗能為此書增添血肉。
也正因如此,Capote與兇手成為好友,甚至互生情愫。
然而這樣的權力關係卻將這件事拖進了一個曖昧無比的泥沼中──Truman Capote希望能在兇手幫助下獲得素材,儘快完成曠世鉅作;
而兇手則懷抱著一種模糊的願望:渴望被了解、渴望被寬宥、渴望成名、渴望為世人所知。
但冗長的司法程序使二人的關係越趨緊張。
Capote原本的預期是,兇手將被處決;而在處決之後,《冷血》一書也將順利定稿出版,進一步將作者的文學聲望推向高峰。
然而另一方面,站在兇手的立場,當然並不希望判決對自己不利。
結果是,司法程序複雜漫長,行刑一拖再拖,宣判之後上訴再上訴,纏訟曠日廢時,作家也等得心焦不已;
因為結局尚未出現,書自然也無法完成。
在故事尾聲,當Truman Capote終於獲知全案死刑定讞的那一刻,簡直是鬆了一口氣。
實際上,Capote的心境當然非常複雜──權力慾、名氣與地位之誘惑、道德兩難與私人情感在此一荒謬情境中彼此拉扯,從而展現了巨大而深刻的張力。
而這部電影的重點之一,正是藝術冷血、藝術嗜血的問題。
Capote與凶手之間,是採訪者與被採訪者,也是平常人與犯罪者的關係;他們確實是朋友,甚至產生了友達以上的曖昧。
所以,回到電影的標題,這其實不僅僅是滅門血案的「冷血」,甚至也可以說是作家Capote自己的「冷血告白」,其自身的「Cold Blood」──
我們以為冷血的只是那個犯下滅門案的兇手,但作為藝術家、採訪者的Capote,是否也在冷血地透過剝削他人、剝削朋友,來獲得藝術上的成果呢?
答案當然是肯定的。但伊格言提醒我們,事情還沒結束。
事實上,藝術不僅僅習於透過藝術家剝削其描述對象(也就是滅門血案本身,以及血案兇手),它尚且剝削了作者本人......
─────
伊格言,小說家、詩人,《聯合文學》雜誌2010年8月號封面人物。
著有《噬夢人》、《與孤寂等輕》、《你是穿入我瞳孔的光》、《拜訪糖果阿姨》、《零地點GroundZero》、《幻事錄:伊格言的現代小說經典十六講》、《甕中人》等書。
作品已譯為多國文字,並於日本白水社、韓國Alma、中國世紀文景等出版社出版。
曾獲聯合文學小說新人獎、自由時報林榮三文學獎、吳濁流文學獎長篇小說獎、華文科幻星雲獎長篇小說獎、中央社台灣十大潛力人物等;並入圍英仕曼亞洲文學獎(Man Asian Literary Prize)、歐康納國際小說獎(Frank O'Connor International Short Story Award)、台灣文學獎長篇小說金典獎、台北國際書展大獎、華語文學傳媒大獎年度小說家等獎項。
獲選《聯合文學》雜誌「20位40歲以下最受期待的華文小說家」;著作亦曾獲《聯合文學》雜誌2010年度之書、2010、2011、2013博客來網路書店華文創作百大排行榜等殊榮。
曾任德國柏林文學協會(Literarisches Colloquium Berlin)駐會作家、香港浸會大學國際作家工作坊(IWW)訪問作家、中興大學駐校作家、成功大學駐校藝術家、元智大學駐校作家等。
香港文匯報專訪:
http://paper.wenweipo.com/2019/09/02/...
香港明報專訪:
https://news.mingpao.com/pns/副刊/artic...
────
小說是什麼?我認為,好的小說是一則猜想──像數學上「哥德巴赫的猜想」那樣的猜想。猜想什麼?猜想一則符號系統(於此,是文字符號系統)中的可能真理。這真理的解釋範圍或許很小,甚至有可能終究無法被證明(哥德爾的不完備定理早就告訴我們這件事);但藝術求的從來便不是白紙黑字的嚴密證明,是我們閱讀此則猜想,從而無限逼近那則真理時的智性愉悅。如若一篇小說無法給我們這樣的智性,那麼,它就不會是最好的小說。
是之謂小說的智性。───伊格言
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/-_oOmtxk_h0/hqdefault.jpg)