#อาการบาดเจ็บที่มาจากการออกกำลังกาย
ถ้าเราไม่ออกกำลังกายจนเจ็บ เราก็ไม่ได้มาซึ่งสุขภาพดี จริงหรือ? (คล้ายๆ No pain No gain)
หลายคนคงได้ยินวลีที่ว่า "No pain No gain" กันบ้างแล้ว ถ้าจะแปลตรงตัวก็แปลว่า ถ้าไม่เจ็บ ก็ไม่เกิดการพัฒนา จนวลีนี้เป็นเป็นวลียอดฮิตของใครหลายคนที่เริ่มต้นออกกำลังกาย ฮึดสู้เพื่อสิ่งที่ดีงาม รวมทั้งคนที่เป็นนักกีฬาชื่อดังก็ยังใช้วลีนี้เป็นคติประจำใจ เพื่อสร้างกำลังใจให้ตนเอง
แน่นอนว่าเป็นแรงจูงใจที่ดีไม่น้อยเลยล่ะ แต่ในบางกลุ่มกลับใช้คำนี้ในทางที่ฝืนๆอยู่เยอะมาก แม้กระทั่งออกกำลังกายจนกระทั่งเจ็บตัวเช่นกัน
เอาล่ะ...วันนี้จะมาอธิบายการเจ็บจากการออกกำลังกายกันค่ะ ว่าอาการบาดเจ็บที่นิยมมักจะเจ็บตรงไหนบ้างที่เกิดขึ้นเนื่องจากการออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬา
1. ข้อเท้าแพลง (Ankle Sprain)
- อาการบาดเจ็บที่ข้อเท้าซึ่งมักเกิดจากอุบัติเหตุที่ทำให้ข้อเท้าพลิก จนทำให้เอ็นช่วยยึดกระดูกระหว่างข้อเท้ากับกระดูกขาเกิดอาการยึดตึงเกินปกติหรือฉีกขาด เมื่อเกิดข้อเท้าแพลง จึงทำให้ร่างกายไม่สามารถขยับเคลื่อนไหวช่วงข้อเท้าได้ตามปกติ
- สามารถเกิดได้ทั้งกับนักวิ่งบนลู่และนักวิ่งนอกอาคาร เพราะทันทีที่เราละการจดจ่อจากการเคลื่อนไหว อาจเผลอลงน้ำหนักหรือวางเท้าในองศาที่ผิดธรรมชาติได้ ดังนั้นจึงควรสังเกตเส้นทางอยู่ตลอดเวลา หรือหากชอบวิ่งชิลๆ ก็ควรหลีกเลี่ยงสถานที่ที่ไม่คุ้นเคย
2. สะบ้าอักเสบ (Patellar Tendinitis)
- โรคเอ็นสะบ้าอักเสบ เกิดจากการบาดเจ็บของเอ็นที่ยึดกระดูกตั้งแต่บริเวณสะบ้าไปจนถึงบริเวณหน้าแข้ง ซึ่งทำหน้าที่ควบคู่ไปกับกล้ามเนื้อต้นขาส่วนหน้า ทำให้สามารถงอหรือยืดเข่าได้ โดยมักเกิดในนักกีฬาที่ต้องใช้กำลังกระโดดอยู่เสมอ เช่น นักบาสเก็ตบอล นักวอลเลย์บอล
- เป็นอาการที่พบบ่อยจากการวิ่ง กระโดด และทําท่าสควอต วิธีป้องกันคือการบริหารกล้ามเนื้อส่วนต้นขาส่วนหน้า (Quadriceps Muscle) ให้แข็งแรง ด้วยท่าง่ายๆคือ นั่งบนเก้าอี้แล้วเหยียดขาออกขนานกับพื้น จากนั้นลดขาลง ทําพร้อมกันทั้งสองข้างหรือสลับทําทีละข้างก็ได้
3. กล้ามเนื้อหน้าแข้งอักเสบ (Shin Sprint)
- อาการบาดเจ็บบริเวณด้านในของหน้าแข้งพบมากในนักวิ่งและคนที่ออกกําลังกายท่ากระโดดหรือกระทบกระทั่งอย่างหักโหม มักจะบาดเจ็บช่วงสันหน้าแข้ง (Tibialis Anterior)
- ดังนั้นสําหรับคนที่ชอบออกกําลังกาย ไม่ควรเพิ่มความเข้มข้นและความถี่ของกิจกรรมทันทีทันใด จะช่วยลดโอกาสการบาดเจ็บประเภทนี้ได้
อาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อ จากการออกกําลังกายส่วนใหญ่มาจากการเคลื่อนไหวซ้ำๆ
4. ปวดหลังช่วงล่าง (Lower Back pain)
- อาจมาจากการทําท่า Squat และท่า Deadlift หรือท่ายกเวตต่างๆ ที่ผิดวิธี ดังนั้นจึงควรจัดท่าทางให้ถูกต้อง เริ่มแรกอาจลอง Workout หน้ากระจกเพื่อสังเกตตัวเองก่อนก็ได้
5. เอ็นหัวไหล่บาดเจ็บ (Rotator Cuff tear)
- อาการสำคัญ มักจะปวดเวลานอน โดยเฉพาะตอนนอนตะแคงทับ ปวดเวลายกแขนขึ้นหรือลงในบางท่า อาจมีอาการอ่อนแรงในขณะยกหรือหมุนหัวไหล่ เสียงเสียดสีในขณะขยับบางท่าของไหล่
- พบบ่อยในผู้ที่ชอบว่ายน้ำ ขว้างลูกบอล ยกน้ำหนัก หรือทํากิจกรรมที่ต้อง ชูมือเหนือศีรษะส่วนใหญ่มาจากการทําท่าทางดังกล่าวซ้ำๆ จึงควรหลีกเลี่ยง หากยกเวตก็ควรเลือกน้ำหนักที่พอเหมาะ ไม่ฝืนจนเกินไป
6. กล้ามเนื้อหน้าอกบาดเจ็บ (Chest Muscle pain)
- อาจจะเกิดระหว่างการนอนยกน้ำหนักบนม้านั่ง (Bench Press) หรือการใช้น้ำหนักมากเกินไป อาจเป็นสาเหตุให้กล้ามเนื้อหน้าอกฉีกขาดได้ จึงควรแน่ใจทุกครั้งว่าเลือกน้ำหนักที่สามารถยกไหวและควบคุมได้ เพื่อไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ หรือการบาดเจ็บ
- ถ้ายังไม่มั่นใจอย่าเพิ่งใช้ 1RM (One Repetition Maximum เป็นการยกได้หนักสุด สูงสุดตลอดช่วงการเคลื่อนไหว) เป็นวิธีใช้ในกลุ่ม Bodybuilder เท่านั้น เพราะในบุคคลทั่วไปเสี่ยงอันตรายมากๆ ทำให้เสี่ยงบาดเจ็บง่าย
7. เอ็นข้อศอกอักเสบ
- อาจเป็นได้ทั้งเอ็นข้อศอกด้านนอกอักเสบ (Tennis Elbow) เกิดจากการอักเสบของเส้นเอ็นกล้ามเนื้อ extensor carpi radialis brevis พบในคนที่เล่นเทนนิส แต่ออกกำลังกายที่เน้นจุดนั้นก็มีสิทธิ์บาดเจ็บได้ และเอ็นข้อศอกด้านในอักเสบ (Golfer Elbow) การอักเสบบริเวณด้านในข้อศอก (medial epicondylitis) ของกลุ่มกล้ามเนื้อ flexor group โดยมักเกิดการฉีกขาดของเส้นใยกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นเพียงเล็กน้อย และเมื่อผู้ป่วยยังคงทำกิจวัตรตามปกติทำให้เกิดการฉีกขาดมากขึ้น แล้วเกิดการอักเสบในที่สุด
- เมื่อเริ่มมีอาการปวดบริเวณหัวไหล่ด้านหน้าลงมาถึงช่วงต้นแขน และอาจเลยมาจนถึงข้อศอก อาจเป็นสัญญาณเตือนของอาการเอ็นข้อศอกอักเสบ วิธีป้องกันคือ ออกกําลังกายให้หลากหลายและหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ต้องทําท่าทางซ้ำๆ เพื่อลดการบาดเจ็บในกล้ามเนื้อส่วนนั้น
.
แล้วเราจะลดอาการบาดเจ็บเหล่านี้ได้ยังไง?
1. ควรมีเวลาให้พัก
- ถ้าคุณอยากให้กล้ามเนื้อพัฒนาควรพัก การเล่นซ้ำก็สามารถสร้างกล้ามเนื้อได้ แต่ในขณะเดียวกัน ถ้ายังมีอาการบาดเจ็บอยู่ จะเป็นการทำลายกล้ามเนื้อ ไม่ได้สร้างพัฒนาการเลย
- ถ้าเริ่มมีอาการบาดเจ็บอย่าฝืนเล่น เพราะยิ่งฝืนเล่น จะยิ่งเจ็บเพิ่มขึ้น เช่น เจ็บช่วงเอ็นที่ยึดกล้ามเนื้อกับกล้ามเนื้อ (Tendon) เอ็นที่เป็นกล้ามเนื้อกับกระดูกหรือระหว่างกระดูก (Ligament) หรือเจ็บจากเส้นประสาทบางส่วน แม้กระทั่งกระดูกก็ควรพักเพื่อรักษาตัว
- ควรพักขั้นต่ำ 3 วัน ถ้ายังไม่หายเจ็บดี ให้พักต่อไปจนกว่าจะหายครับ ปกติประมาณ 1 สัปดาห์ ถ้าไม่ทุเลาควรไปพบแพทย์
2. เมื่อพักแล้ว มันต้องดีขึ้นแน่นอน
- หลังจากพักหายดีแล้ว พอกลับไปออกกำลังกายอีกครั้ง เราจะรู้สึกได้ทันทีว่าแข็งแรงขึ้น ไม่เจ็บเหมือนเดิม และออกกำลังกายได้มากกว่าเดิม
- ขอแค่อย่าเพิ่งถอดใจ เพราะเป็นใครก็ต้องเจ็บเป็นธรรมดา เราแค่กลับมาเพื่อให้เวลาพักกับตัวเอง แล้วค่อยไปลุยต่อ
- อย่าคาดหวังสูง กดดันตัวเองจนเกินไปว่าจะต้องเป็นแบบนี้ ให้เน้นความพอดีๆ แต่สม่ำเสมอแทน เราจะประสบความสำเร็จในการออกกำลังกาย เพราะว่ากรุงโรมไม่ได้สร้างเสร็จในวันเดียว สุขภาพที่แข็งแรงเช่นกัน
3. รู้จักวิธีปฐมพยาบาล
- รู้จักวิธีปฐมพยาบาลถือเป็นสิ่งสำคัญ ผู้ที่เกิดอาการบาดเจ็บจะต้องหยุดวิ่งเพื่อพักทันที เพราะจะทำให้อาการบาดเจ็บนั้นรุนแรงขึ้นได้
- ทำการประคบเย็นโดยใช้ผ้าขนหนูห่อน้ำแข็ง หลังเกิดการบาดเจ็บประมาณ 15 นาที พักหยุด 10 นาที ภายใน 1 ชั่วโมงแรก
- รัดด้วยผ้ายืด(Bandage) อย่าให้แน่นจนเกินไป เพื่อป้องกันอาการชาและไม่ให้บวมมากขึ้น
- ถ้ามีอาการบาดเจ็บรุนแรงแล้วหลังปฐมพยาบาลยังไม่ดีขึ้น จะต้องรีบไปพบแพทย์ทันที
4. อย่าลืม Warm Up กับ Cool Down
- ควรให้เวลาในการ Warm Up เพื่อเป็นการเพิ่มองศาการเคลื่อนไหวหรือ Range Of Motion และเพื่อเตรียมสภาพกล้ามเนื้อเพื่อลดการบาดเจ็บ
- การ Warm Up เป็นการอบอุ่นร่างกายเพื่อให้พร้อมก่อนที่จะออกกำลังกาย ซึ่ง Static Stretching หรือแบบนิ่งอยู่กับที่ ควรทำในแต่ละท่าท่าละ 30-45 วินาที และ Dynamic Stretching หรือเป็นแบบเคลื่อนที่ 5-10 นาที
- การ Cool Down เป็นการฟื้นตัวสภาพร่างกายหลังการออกกำลังกาย เพื่อกลับเข้าสู่สภาวะปกติ ให้ทำแบบ Static Stretching ในแต่ละท่าค้างไว้ 5-10 นาที
5. ปรับเทคนิคการเล่น
- การเล่นเวทเทรนนิ่งจะต้องล็อกสะบัก(Scapula) เพื่อให้ท่าทางของหลังตรง ไม่เกิดช่วงโค้งของสันหลัง จะได้ไม่ต้องเจ็บช่วงหลังส่วนล่างมากเกินไป และควรงอเข่า เพื่อป้องกันการบาดเจ็บช่วงเอ็นข้อเข่าไม่ให้ฉีกขาดหรือเกิดการอักเสบ
- ถ้ารู้สึกหน้ามืดเกินไปขณะออกกำลังกาย ให้นั่งพักเพื่อให้ตัวเองได้ผ่อนคลาย แต่ถ้าไม่ทุเลาควรหยุดออกกำลังกายทันทีเพื่อความปลอดภัย จนกว่าจะดีขึ้นจนสามารถออกกำลังกายได้ตามปกติ
- การปรับในเทคนิคกีฬาขึ้นอยู่กับทักษะกีฬานั้นๆ ควรปรับเทคนิคการเล่นเพื่อประสิทธิภาพในการเล่นกีฬาดีขึ้น ลดผลกระทบการบาดเจ็บที่เกิดจากเทคนิคผิดพลาดได้
ทุกๆ บทเรียนย่อมต้องแลกมาด้วยความเจ็บปวดอยู่เสมอ แต่เราไม่จำเป็นต้องดันทุรังให้เจ็บเลย ถ้าเรารู้จักถนอมตัวเอง นึกถึงสมดุลของตัวเองให้เป็น เรามีสิทธิ์เลือกที่จะไม่เจ็บก็ได้ ถ้าเรารู้จักที่จะเล่นให้เป็น รู้จักที่จะลดความเสี่ยงของตนเอง แต่ในขณะเดียวกัน เราต้องมีความคิดให้มากขึ้น เพื่อความปลอดภัยของตนเองมากที่สุด เพราะว่าการที่เราไม่เจ็บ เราสามารถออกกำลังกายได้ต่อเนื่องขึ้น ตามวลีนี้ว่า "No Pain You Gain" ไม่เจ็บตัว ย่อมเกิดขึ้นดีกว่า แล้วเราจะสนุกไปกับมัน จริงไหม?
♥️
elbow ligament 在 偽文女生英國札記 Hong Kong Girl in UK Facebook 的最佳貼文
《BB來了A&E》
劇集《BB來了》最近贏盡口碑,貼地寫實的情節引起了不少新手父母的共鳴。雖然我並非婦產科或兒科醫生,但在熱鬧的急症室裡總會遇上幾個「允豬」,而當我替這些小病人診症的同時,也常常要解答港爸港媽與四大長老們的各種疑問。
─────────────────
1. 小小Minions
「只怪我的新抱不肯餵奶粉,一定是她的人奶不夠營養,現在弄得BB比剛出生時還要輕,皮膚也變黃了!」我才剛剛接過牌板,這位奶奶便搶先向我告狀。
我先從電腦翻查嬰兒的出院記錄,再向家人了解他的餵哺情況與換片次數,才逐點逐點向他們解釋。
「BB在剛出生後的一週內會『收水』,只要體重跌幅不超過出生磅數的10%亦屬正常。另外,其實新生嬰兒黃疸(neonatal jaundice)有不同成因,較罕見的情況是BB患上先天性膽管閉塞或蠶豆症,但最常見的都是生理性黃疸,那是由於初生嬰兒的肝臟未發育成熟,故難以在短時間內分解由血紅素代謝成的膽紅素,膽紅素積聚體內才令BB變得黃澄澄。所以母乳餵哺未必是形成黃疸的罪魁禍首,反而對母嬰二人也有很多好處呢!」
站在後方的媳婦聽畢後,立即向我投來一個感激的眼神。我相信現今的新手媽媽早已在「港媽王國」或「媽媽谷」裡學會不少育嬰知識,但要一句KO奶奶實在太冒險了,還是由我這個外人代她道出事實吧。
2. 虛「經」一場
「醫生,我懷孕時是否吃錯了什麼,令我的BB女變得如此早熟?昨晚替她洗澡時,她的乳頭竟像我一樣分泌出乳汁;今早替她換尿片又發現她陰道出血,才出生幾天便開始來月經嗎?」這位媽媽憂心忡忡地走進我的診症室,把所有事情都歸咎於自己。
我簡單問過幾句病歷、為BB女作過檢查,排除了感染、創傷等可能性後,便趕緊為她釋除疑慮。
「不用擔心,這些都是醫學上的生理變化。懷孕期間,媽媽的女性荷爾蒙會經過胎盤傳到胎兒體內,造成初生嬰兒乳溢(galactorrhea)的現象;女嬰出生後,來自母體的荷爾蒙水平逐漸下降,就會出現假月經(pseudomenstruation)的出血情況。」
見她依然愁眉不展,我便再補充幾句:「這些徵狀不會維持太久,慢慢就會消失了。妳這麼觀察入微,有疑問便來求醫,處理得很好啊!」這位媽媽終於如釋重負,放心地抱著女兒離開診症室。
3. 大手拉小手
「當時孩子站在我和太太中間,我倆各牽著他的一邊手讓他凌空跳起,玩了幾次他卻突然哭起來,過了不久才發現他的右手痛得一動也不動。是我太用力弄傷了他的筋骨嗎?」這位爸爸一邊回答我的問題,一邊安撫正在放聲嚎哭的兩歲兒子。
小男孩的右邊鎖骨、肩膀、手肘與手腕均沒有任何紅腫或瘀青,但整隻右手就是不為所動,即使我們遞上糖果與玩具作利誘,他也始終不肯舉起右手。
我一手承托著他的右邊手肘,一手輕輕屈曲他的右肘關節(elbow flexion),並將他的前臂往外旋轉至掌心向上(supination),然後像變魔術一樣,下一秒鐘他就突然活動自如,還主動伸手去拿玩具,把他的父母嚇得又驚又喜!眼前這位港媽看得目瞪口呆,趁她還未大叫「點解嘅」,我已率先把謎底解開。
「他患的是扯肘症(pulled elbow),當小孩伸直手肘時不慎遭人用力拉扯,位於前臂的橈骨頭就有機會被拉至半脫臼(radial head subluxation),『橡筋圈』般的環狀韌帶(annular ligament)亦會同時脫離原位,卡進肘關節裡,令小孩疼痛得不敢移動傷肢。扯肘症一般都不需要照X光來診斷,我剛才的動作其實只是讓他的關節恢復原位,你看他現在手舞足蹈,就證明一切已回復正常了。」
─────────────────
為以上幾位小病人診症後,我並沒有開出任何藥物,也沒有發過一張病假紙,但每個陪診的家人都帶著滿意的答案步出急症室。雖然他們未必明白我所說的每句醫學理論,但得到醫生的一句reassurance,已讓他們倍感安心。
有時候,我們醫護人員認為是「小兒科」的問題,對很多外行的新手父母來說都是新鮮事:他們看見BB打嗝、打噴嚏,會擔心他是否患上了什麼怪病;第一次摸到BB頭頂上軟軟的腦囟(fontanelle),會嚇得以為那裡有什麼缺陷;發現BB身上長了紅斑與丘疹,不會懂得辨認那是良性的「胎毒」(erythema toxicum)……雖然常常鬧出不少笑話,但也證明了他們有多麼緊張自己的孩子吧?
elbow ligament 在 Lily的澳洲獸醫日誌 Facebook 的最佳解答
【Week13 Day6- Surgery rotation】
---文超長慎入
這週是學校內的外科實習,一直是我非常期待的一週,偏偏很不幸的這禮拜碰到復活節星期五開始放假,所以我們只剩四天的實習,再加上很多飼主大概都盡量避免長假前動手術,所以遇到的case不多,實在很可惜。
星期一主要都在induction,跟我們講解這禮拜手術需要注意的事,每天早晚都要去照顧負責的病患然後給藥,早晚各一次round(學生報告當天負責的住院病患狀況和手術case)。之後大家一起練習了一次scrubbing, gowning和gloving(刷手和正確的穿手術衣和手套)。下午跟surgeon到clinical skills centre練習suture techniques(縫合)並很幸運的一人獲得了一支needle driver和tissue forceps😊(三年級學生今年的禮物,超級好我們去年都沒有拿到,還好剛好有剩下的就送給了我們)。原訂星期一沒有任何手術的,後來下午四點進來了一隻ulnar fracture的狗(手肘骨折),原本很想跟的,但這週我們這組很雖小的加入了一個超愛搶case但不太負責任的交換學生,根本還沒跟大家討論誰要接這case人就消失無蹤,再次出現時人已經換上手術服了,整個很傻眼😤。不過就想算了,反正大家輪流接case。
於是星期一下午剩下的人就趕快分配隔天的case,因為每天4點前學生要完成隔天手術的anaesthesia/surgery request form,也就是前一天要跟麻醉科報告隔天要進行的手術,需要什麼特別的手術器材之類的以讓麻醉科先做好準備滅好菌。看到了隔天有從未見過一直很想看的TPLO手術,我就立刻自告奮勇當primary student(主要負責學生),趕快準備了anaesthesia request form送到麻醉科,然後跟另一個secondary student開始翻書把TPLO的相關內容拍起來當天晚上回家研讀。
星期二整天就是跟另一個同學一起負責TPLO的case(前十字韌帶斷裂的手術方式之一),早上跟著surgeon把狗接進來,做了基本問診和理學檢查後就讓他入住病房。在等待手術開始的過程中,趕快先把病歷打一打,等時間到了狗開始麻醉處理時我們便開始刷手。手術一開始先在膝蓋開個洞放內視鏡進去確認前後十字韌帶跟半月軟骨狀態看需不需處理一下他們,關節腔裡的影像我整個難以解讀,到底誰是十字韌帶誰是半月軟骨誰是femoral condyle,根本長差不多顏色也差不多。後來就開始進入真正的TPLO,先把肌肉切一切,骨頭鋸一鋸、轉一轉,再栓一栓螺絲就大功告成了(講的好像很容易一樣),我們骨科醫生大概經驗極豐富,整個手術不到兩小時就結束了。雖然我們主要都是當手術助理,但能近距離參與人生第一個TPLO已經很滿足了,最後皮膚的縫合醫生讓我們學生來做,只能說先前練習過很多次,信心滿滿縫得很漂漂👍。拍了術後X光醫生確定一切perfect並等病患稍微清醒後,我便負責打電話跟飼主報告手術狀況,打電話對我來說比動手術還令人緊張,還得先擬個草稿。之後就是負責寫surgery report。當天另外還有兩個結紮一個貓車禍手掌骨折手術由其他同學負責。
星期三一早先到病房巡視我前一天的TPLO病患,帶她出去上廁所,檢查基本vitals ,然後跟負責醫師討論當天和出院後用藥。 星期三當天負責的case是一隻母傑克羅素梗的結紮手術,早上round完之後便趕快換手術服刷手進去手術室。在學校結紮手術從頭到尾都是由我們學生進行,醫師則在旁邊指導和當助手。我和另一個同學一人輪流做一邊的卵巢摘除,我繼續做子宮的摘除,然後兩個人再輪流縫合傷口。由於先前在校外實習練習過幾次結紮手術,現在越來越上手,花的時間也越來越短了。今天還來了一隻我一直很愛的紐芬蘭犬來看elbow dysplasia和掃CT。前一天一知道隔天有紐芬蘭要來,深怕因為進手術室而錯過他,一直叮嚀負責的同學一定要幫我拍照。還好很幸運的結紮手術很快就做完,病歷和手術報告等所有該做的事都做完後,就趕緊飛奔去找我的阿芬。一見到他我的臉大概就是😍😍,由於是巨型長毛犬整個抱起來好過癮,愛不釋手,在旁邊的同學一定都覺得我瘋了,哈哈。不過很不幸的CT顯示他的手肘關節已經進展成end stage arthritis(關節炎),飼主目前不打算做手術,所以就先換成其他的止痛方式看效果如何。
星期四白天只有兩個母狗結紮手術,由於我們已經做過母狗結紮了,所以就把這機會給還沒做過的同學。於是我整天就負責跟複診的case,有TPLO 8週後回來拍X光看骨頭癒合情形的狼犬,一隻2週前截掉右前肢的greyhound回來拆線,一個膝關節異位手術後回來拆線的吉娃娃,兩隻來清創重包紮的狗。大概因為要寫很多病歷,出乎意料的整天複診下來比進手術室還忙。就以為要以少少兩個手術參與結束了這一週時,突然在將近5點時接到消息說ICU有一隻愛爾蘭獵狼犬車禍後腳骨折需要緊急手術,於是我和另外兩個學生就留下來參與手術。這隻獵狼犬的左後腳有多處撕裂傷,hock 有intra-articular fracture (關節處骨折),lateral collateral ligament(穩定關節的韌帶)也嚴重毀損,我們先清創,放了引流管後再把傷口縫合。由於關節處非常不穩定一定要固定住,但骨折處車禍後暴露在外,如果這時候立刻放入implant 感染機率非常高,所以最後決定先用trans-articular external fixation(外支架)的方式來固定關節,等傷口癒合到一定程度後再在骨折處放入implant固定。這也是我第一次看external fixation的手術,大致上就是鑽一鑽洞,放入支架再彼此固定。手術大概9點多結束,拍了術後X光確認,把支架包紮起來後就把狗推回ICU給那邊的人做後續照顧。同組沒進手術室的同學也全程在外面透過螢幕觀看手術過程,我們大家再一起回電腦前完成surgery report,最後拉拉渣渣的事弄完後大家將近半夜12點才離開,每個人都還沒吃晚餐但也沒人抱怨,實在是很為自己這組感到驕傲,有著很強的向心力(除了某個交換學生原本也搶著要進手術室最後人卻不知道在哪外)。手術後就開始迎接復活節的長假啦。
PS 某天晚上借了同學的DASIE來練縫合和血管結紮。我做的intradermal (皮內縫合)夠漂亮嗎,有沒有人想因此雇用我。(請忽略右邊的縫線,不是我縫的,不好看也不要說我朋友會哭哭😂)