The future of DeFi is spread across multiple blockchains
อนาคต Multichain มา จะมีข้อดี ข้อเสีย อย่างไรกับ Defi !!
By MICHAEL O’ROURKE
หลังจากติดอยู่ในเงามืดของ Bitcoin ( BTC ) เป็นเวลานาน ในที่สุด Ethereum ( ETH ) ก็เข้ายึดครองตลาดในปี 2020 decentralized finance ได้ออกแบบมา เพื่อสร้างระบบการเงินแบบให้มีพ่อค้าคนกลางน้อยลง ปัจจุบันมีการใช้ DeFi ในการกู้และปล่อยกู้ การซื้อและขายโทเค็น
decentralized applications (DApps) ส่วนใหญ่ ทำงานบน Ethereum ธุรกรรมเหล่านี้ยังมีแนวโน้มสูงขึ้น เนื่องจากการ yield farming หรือที่เรียกว่าการสร้างสภาพคล่อง ซึ่งช่วยให้ผู้ถือสามารถสร้างผลตอบแทนด้วยคริปโตของพวกเขา
แต่เมื่อธุรกรรมบน Ethereum เพิ่มขึ้น ค่าธรรมเนียมการทำธุรกรรมของเครือข่ายก็สูงขึ้นเช่นกัน ในเดือนพฤษภาคมมีรายงานว่า Ethereum ค่า Gas พุ่งสูงขึ้น คาดว่าเกิดจากการมีส่วนร่วมใน DeFi จะคุ้มค่าก็ต่อเมื่อ ต้องจัดการเงินทุนที่เกินค่าธรรมเนียม
อย่างไรก็ตาม Ethereum ยังคงเป็นบล็อคเชนที่มีการใช้งานมากที่สุด แต่ผู้เล่นก็มีทางเลือก ตัวอย่างเช่น Binance Smart Chain (BSC) และ Solana (SOL) ที่กำลังดึงดูดสินทรัพย์หลายพันล้านภายใต้การจัดการ ในขณะที่โซลูชัน Layer ที่สอง เช่น Polygon (MATIC) ก็ดึงดูดความสนใจของผู้ใช้ที่ไม่พอใจ Ethereum
นอกเหนือจากค่าธรรมเนียมต่ำและความเร็วในการทำธุรกรรม อย่างไรก็ตาม แม้ว่าค่าธรรมเนียม Ethereum จะสูงในปีที่ผ่านมา และการเติบโตที่เร็วขึ้น แต่ไม่มีเครือข่ายใดที่ฆ่า Ethereum ได้
เนื่องด้วยเหตุนี้ เมื่อเราเข้าสู่ช่วงครึ่งหลังของปี นักพัฒนาตระหนักถึงคุณค่าของอนาคต แบบcross-chain แทนที่จะต้องเลือกblockchainหนึ่งอัน
ประโยชน์และข้อเสียของ multichain ในอนาคต
เนื่องจากความโดดเด่นและความยาวนานของ Ethereum มีความได้เปรียบในตอนแรกและยังคงเป็นบล็อคเชนที่สำคัญที่สุดใน DeFi แต่ด้วยเชนอื่นๆ มีการทำธุรกรรมที่เร็วกว่าและค่าธรรมเนียมที่ต่ำกว่าอย่างมาก
ข้อเสียประการหนึ่งที่เป็นไปได้ ขึ้นอยู่กับว่าคุณมองอย่างไร คือ บล็อคเชนบางตัวต้องการภาษาโปรแกรมเฉพาะ เช่น JavaScript, Rholang, Simplicity, Rust หรือ Solidity ซึ่งอาจเป็นอุปสรรคต่อการเข้ามาของนักพัฒนา
อย่างไรก็ตาม ในขณะเดียวกัน ภาษาเขียนโค้ดที่แตกต่างกัน สามารถนำเสนอวิธีใหม่สำหรับนักพัฒนาในการแก้ปัญหา และในขณะที่พื้นที่บล็อคเชนเคลื่อนไปสู่มัลติเชนมากขึ้น มันอาจเป็นแรงบันดาลใจให้นักพัฒนา
สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ เมื่อพวกเขาเห็นถึงความหลากหลายในโครงการบล็อคเชนที่ทำงานได้ ด้วยเหตุผลนี้เองโครงการที่ไม่สร้างสรรค์จึงถูกมองว่าล้าหลังและถูกทอดทิ้งโดยชุมชนของพวกเขา
ไม่เพียงแค่นั้น แต่บล็อกเชนที่แยกจากกัน จะสร้างไซโลนวัตกรรม นำเสนอความท้าทายต่อความก้าวหน้าและการยอมรับ การเข้าร่วม multichain ในอนาคตนั้นสามารถเห็นได้ว่า เป็นการเชื่อมโยงกลุ่มเฉพาะเหล่านี้เข้าด้วยกัน
เป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ในที่สุดโครงการต่างๆ จะเชื่อมต่อบล็อคเชน
หลาย ๆ ตัว
ทำให้การถ่ายโอนข้อมูลจากเชนหนึ่งไปยังอีกเชนหนึ่ง เป็นไปอย่างราบรื่น อันที่จริง ตลาดคริปโตและการนำ multichain มาใช้นั้น ก็จะยิ่งมีความชัดเจนมากขึ้นว่า ฟังก์ชันจะเพิ่มขึ้น การใช้งานและความสามารถในการปรับขนาดที่เพิ่มขึ้นมานั้น จะมีส่วนช่วยในการเริ่มต้นใช้งานของผู้ใช้ใหม่
สำหรับนักลงทุนที่ สนใจ ข้อมูลการลงทุนเชิงลึก
จากบทวิเคราะห์ระดับโลก รวมหลักแสนต่อปี
สามารถ สมัครเข้าดูได้ที่ห้องเรียนวงในครับ
สนใจ คอมเม้นใต้บทความได้เลย
--------------------------------
แอดปลา
「javascript yield」的推薦目錄:
- 關於javascript yield 在 Facebook 的最佳貼文
- 關於javascript yield 在 91 敏捷開發之路 Facebook 的精選貼文
- 關於javascript yield 在 Yield 與Generator -- 讓callback 不再是javascript 的痛 的評價
- 關於javascript yield 在 What's the yield keyword in JavaScript? - Stack Overflow 的評價
- 關於javascript yield 在 JavaScript yield 的評價
- 關於javascript yield 在 integration-dynamic-yield - GitHub 的評價
- 關於javascript yield 在 Using JavaScript Iterators and Yield - A 'How-To ... - YouTube 的評價
javascript yield 在 91 敏捷開發之路 Facebook 的精選貼文
演變過程解釋地挺清楚的。
在 C# 5.0 (in .net framework 4.5) 裡的 async/await 就是搞到這麼簡單好用。
寫 C# 的 developers 真的是種幸福!
#Javascript #async #yield #callback
javascript yield 在 JavaScript yield 的推薦與評價
Introduction to the JavaScript yield keyword · The expression specifies the value to return from a generator function via the iteration protocol. If you omit the ... ... <看更多>
javascript yield 在 Yield 與Generator -- 讓callback 不再是javascript 的痛 的推薦與評價
雖然新版的JavaScript (ECMAScript 6, ES6) 有很多新穎的功能,但是其中最重要的,恐怕就是基於yield 語法所衍生出來的一連串功能了,這種語法在ruby 當中早就有了,並不是 ... ... <看更多>