【#堅離地球YouTube:國際運動場🏅️】疫情下舉行的東京奧運意外掀起空前熱潮,香港運動員的表現也是歷屆之冠,作為資深體育評述員,馬啟仁 Keyman 認為這是一種改朝換代的變革。現在的奧運新聞,不再由大台壟斷,也變成社交媒體主導,很多從前難以獲得重視的週邊故事,都變成觀眾的焦點,加上社會氣氛令不同陣營的觀眾產生移情作用,都令本屆奧運突破同溫層,真正全民運動。問題是盛事過後,如何延續這種momentum,這才是 Keyman 最關注所在。
▶️https://www.youtube.com/watch?v=kQtL9xG4UKw
⏺世上人口最少的奪金代表隊:百慕達第一金的國際關係意義
https://www.patreon.com/posts/54208873
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過1,870的網紅安俊豪Simon On,也在其Youtube影片中提到,#KEYMAN #安俊豪 #VSing 今次請黎VSing同我一齊玩KEYMAN既COVER 好爽呀!!! 大家想聽下 A cappella既Version 就唔好錯過嘞!!! 想睇返原汁原味既KEYMAN MV 傳送門 : https://www.youtube.com/watch?v=LtR...
keyman youtube 在 安俊豪 Simon On Facebook 的最佳解答
Vie Live 第五夜 安俊豪 Simon -《 You're my "KEY MAN" !!》
Vie Simple X FBEAD聯手合作進入第五夜,今晚9點 安俊豪Simon同你一齊開live!你、我、他都係 Simon 嘅 KEY MAN少一個都唔得,身為安俊豪 KEY MAN 嘅你,一定要嚟支持Like爆佢!!記得Share埋比其他KEY MAN 知ra
Vie Live 「簡」音樂
做人最緊要有得揀,聽歌都一樣,Vie Live 「簡」音樂,「揀」音樂,揀歌手喜歡嘅歌,揀你喜歡嘅歌,簡單唱比你聽,唱出你我嘅共鳴。想知更多就快啲去訂閱 Tvie YouTube頻道,或like 及追蹤 #vsmagazinehk #Tvie 嘅IG 及Facebook page la
#TViehk #VieLive #簡音樂 #揀音樂 #VieSimple #廣東歌 #歌手 #第五夜 #安俊豪Simon #Simon #KEYMAN #開live #Like爆 #11月 #2020 #歌曲 #vie_Simple_media_group #2020新歌
@尚品娛樂 安俊豪
———————————————————
TVieHK
YouTube: https://bit.ly/2Yn3suh
FB: https://bit.ly/3c5RA3O
IG: https://bit.ly/2Whcer3
Vie Simple Magazine
YouTube: http://bit.ly/2wRUR40
FB: https://bit.ly/2yXAk2b
IG: https://bit.ly/3cJPXdn
———————————————————
FB EAT ALL DAY:
Instagram:
https://instagram.com/fbeatallday?igshid=ljn4vuxuu8vo
YouTube:
https://m.youtube.com/channel/UCVuaK8g8XXSeMr9olNs57ng
Facebook:
https://www.facebook.com/FB-Eat-Al…
——————————————————
更多人氣文章及相關資訊:
【Cover Story】薛世恆 - 薛世恆的娛樂哲學
https://bit.ly/3liAJiA
【Cover Story Locals】曾偉譽 x 古國輝 - K2煮場預演場
https://reurl.cc/ygrDja
【Vie Lucidity 玄途有理】「打工仔」趨吉避凶! 守住份工!
https://bit.ly/3ixAWg4
密切留意Vie Simple最新消息及動態
於Facebook網頁版Cover photo的下方,按『Following』按鈕然後選擇『See First』
訂閱Vie Simple YouTube channel觀看 Cover Story
http://bit.ly/2wRUR40
—————————————————————
如果各位有任何有趣的生活題材、有關生活品味的資訊希望與大家分享
歡迎透過Facebook inbox或電郵到viefan@viesimple.hk聯絡Admin
廣告合作請電郵至info@viesimple.hk 感謝~
keyman youtube 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
สรุป วิธีการแบ่งหุ้นในบริษัท จากซีรีส์เรื่อง START-UP /โดย ลงทุนแมน
ถ้าเรากับเพื่อน ร่วมก่อตั้งบริษัทแห่งหนึ่งขึ้นมาด้วยกัน
การแบ่งหุ้นในบริษัทให้เราและเพื่อนเท่าๆ กัน ก็ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่ไม่น่าจะมีปัญหาอะไร
แต่สำหรับธุรกิจ Start-up อาจไม่ได้เป็นแบบนี้เสมอไป
เพราะการแบ่งหุ้นอย่างเท่าเทียมอาจสร้างปัญหาใหญ่ตามมาในภายหลัง
ซึ่งเราสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับการแบ่งหุ้นในธุรกิจ Start-up ได้ จากตอนที่ 6 ของซีรีส์เรื่อง “START-UP” ที่กำลังเป็นที่นิยมใน Netflix ตอนนี้
ซีรีส์เรื่องนี้สอนเรื่องการแบ่งหุ้นในบริษัทอย่างไรบ้าง
แล้วเรื่องนี้สำคัญกับคนที่กำลังจะสร้างธุรกิจ Start-up อย่างไร?
ลงทุนแมนจะสรุปให้ฟัง..
╔═══════════╗
ไอเดียเริ่มต้นที่ Blockdit ทั้งในรูปแบบ
บทความ วิดีโอ พอดแคสต์ และซีรีส์
ลองใช้กันที่ Blockdit.com/download
Blockdit. Ideas Happen.
╚═══════════╝
สำหรับใครที่ยังไม่ได้ดู ต้องขอเตือนก่อนว่า ในบทความนี้อาจมีการเปิดเผยเนื้อหาบางส่วน
ซีรีส์เรื่อง START-UP เป็นเรื่องราวของหนุ่มสาวที่กำลังเดินตามความฝัน ในการสร้างธุรกิจ Start-up ให้ประสบความสำเร็จ
ซึ่งตัวละครหลักในเรื่องนี้ ได้ร่วมกันก่อตั้งบริษัท Start-up ที่ชื่อว่า “ซัมซานเทค”
โดยที่ ซัมซานเทค เป็น Start-up ที่อาศัยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI มาพัฒนาเป็นบริการ เช่น การวิเคราะห์ใบหน้า และลายนิ้วมือ
ซึ่ง ซัมซานเทค เริ่มก่อตั้ง และมีผู้พัฒนาโปรแกรมคนสำคัญคือ “นัมโดซาน”
และหลังจากนั้น เพื่อนทั้งสองคนของนัมโดซาน ซึ่งก็คือ “คิมยงซาน” และ “อีชอลซาน”
ก็ได้มาร่วมสร้างและพัฒนาบริษัทนี้ด้วยกัน
แต่จุดอ่อนของบริษัทนี้อยู่ที่ ผู้ร่วมก่อตั้งทั้งสามคน ล้วนเป็น “นักพัฒนา” หรือ Developer เหมือนกันหมด
ทำให้ ซัมซานเทค ขาดคนที่มีทักษะด้านการบริหาร และไม่มีโมเดลธุรกิจที่ชัดเจน
นอกจากนี้บริษัทยังไม่สามารถโน้มน้าวให้นักลงทุน หรือ VC (ธุรกิจสำหรับการร่วมลงทุน) มาร่วมลงทุนได้
ต่อมาซัมซานเทค ก็ได้พบกับ “ซอดัลมี”
ซึ่งเธอคนนี้มีสิ่งที่ทั้งสามผู้ก่อตั้ง ซัมซานเทค ขาดหายไป
นั่นก็คือ ทักษะด้านการบริหารและการวางโมเดลธุรกิจ
ซึ่งต่อมา ซอดัลมี คนนี้ ก็ได้กลายมาเป็น CEO ของซัมซานเทค และได้ชักชวน “จองซาฮา” ให้เข้ามาเป็นดีไซเนอร์ของบริษัทอีกหนึ่งคน
กลายเป็นว่า ในตอนนี้ ซัมซานเทค มีคนที่เข้ามามีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัทแล้วทั้งหมด 5 คนด้วยกัน
ซึ่งหลังจากนี้ ทั้ง 5 คนก็ต้องเข้าสู่กระบวนการ “การแบ่งหุ้นในบริษัท”
โดยเริ่มแรก พวกเขาแบ่งหุ้นให้เท่าๆ กัน อย่างเท่าเทียม ดังนี้
นัมโดซาน ถือหุ้น 19%
ซอดัลมี ถือหุ้น 16%
คิมยงซาน ถือหุ้น 16%
อีชอลซาน ถือหุ้น 16%
จองซาฮา ถือหุ้น 16%
พ่อของนัมโดซาน ซึ่งเป็นผู้ออกทุนให้ในช่วงแรกก็ได้รับหุ้นไป 16%
ญาติของนัมโดซาน ผู้ที่เคยช่วยออกแบบและตัดต่อวิดีโอ ได้รับหุ้น 1%
ดูเหมือนว่า การแบ่งหุ้นอย่างยุติธรรมในสัดส่วนที่เท่าๆ กันนี้ จะทำให้ทุกฝ่ายพึงพอใจ และยังช่วยป้องกันไม่ให้ใครยึดบริษัทไปเป็นของตัวเองได้ง่ายๆ
แต่อย่าเพิ่งด่วนสรุปไป
เพราะสำหรับธุรกิจ Start-up การแบ่งหุ้นเช่นนี้อาจส่งผลเสียอย่างที่เราคาดไม่ถึง
สำหรับ Start-up ที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นมาใหม่ๆ
สิ่งสำคัญที่สุด คือ การสร้างความน่าเชื่อถือ และความเชื่อมั่นให้กับผู้ที่จะเข้ามาลงทุน
เนื่องจากธุรกิจ Start-up ส่วนใหญ่จะเติบโตได้ ต้องอาศัยเงินจากนักลงทุน หรือ Venture Capital (VC)
เพื่อให้มีเงินทุนมากพอที่จะนำมาพัฒนาสินค้าและบริการของบริษัท
ดังนั้น การที่ซัมซานเทคแบ่งหุ้นให้เจ้าของแต่ละคนเท่าๆ กัน จะทำให้ผู้ลงทุนมองว่า ผู้นำของบริษัทไม่มีอำนาจที่ชัดเจน และกลายเป็นจุดอ่อนให้กับบริษัทได้
เนื่องจาก “อำนาจ” ในการบริหาร สามารถสะท้อนได้จากจำนวนหุ้นที่ถืออยู่
ยิ่งถือหุ้นอยู่มากเท่าไร อำนาจในการโหวต หรือออกเสียงก็จะมากตามไปด้วย
แต่หากผู้ถือหุ้นทุกคน มีสัดส่วนการถือหุ้นใกล้เคียงกัน
ถ้าในอนาคตผู้ถือหุ้นเกิดมีปัญหากันขึ้นมาแล้วตกลงกันไม่ได้
อีกทั้งต่างฝ่ายต่างก็มีเสียงโหวตเท่าๆ กัน
ในบางกรณีอาจจะจบลงด้วยการยุบบริษัทได้
และนั่นหมายความว่า เงินของผู้ที่เข้าลงทุนจะสูญเปล่าทันที
ดังนั้น ในซีรีส์เรื่องนี้ จึงได้เสนอทางแก้ โดยให้บริษัทเลือก “Keyman” หรือ ตัวหลัก ขึ้นมา 1 คน โดยคนที่เป็น Keyman จะต้องเป็นบุคคลที่บริษัทขาดไม่ได้ และเป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดในบริษัท
ซึ่งหลังจากที่เลือก Keyman ได้แล้ว ก็ค่อยรวบรวมหุ้นส่วนใหญ่ไปไว้ที่คนนั้น อย่างน้อย 60% ถึง 90%
ดังนั้นในตอนหลัง ซัมซานเทค จึงได้ปรับสัดส่วนการถือหุ้น ดังนี้
Keyman คือ นัมโดซาน ถือหุ้น 64%
ซอดัลมี ถือหุ้น 7%
คิมยงซาน ถือหุ้น 7%
อีชอลซาน ถือหุ้น 7%
จองซาฮา ถือหุ้น 7%
พ่อของนัมโดซาน ถือหุ้น 7%
ญาติของนัมโดซาน ถือหุ้น 1%
เหตุผลที่ต้องรวบรวมหุ้นจำนวนมากขนาดนี้ไปไว้ที่คนๆ เดียว
ก็เพื่อป้องกันปัญหาไว้ตั้งแต่เนิ่นๆ ก่อนที่จะมีคนเข้ามาลงทุน
เนื่องจากธุรกิจ Start-up จะมีสิ่งที่เรียกว่า “การเปิดรอบระดมทุน”
โดยจะมีตั้งแต่รอบ Pre-Series และ Series A, B, C และรอบต่อไปเรื่อยๆ
ซึ่งในแต่ละรอบ จำนวนเงินลงทุน และผู้ถือหุ้นหน้าใหม่ ก็อาจเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
ดังนั้น หาก Keyman ถือหุ้นในสัดส่วนที่ต่ำ หรือน้อยกว่าครึ่งหนึ่ง
ก็อาจทำให้หลังจากการเปิดรอบระดมทุนไปแล้ว หุ้นส่วนใหญ่จะตกไปอยู่ในมือของนักลงทุนมากกว่า Keyman ได้
ซึ่งนี่อาจสร้างปัญหาตามมามากมาย
ทั้งการสูญเสียสิทธิ์ในการบริหาร และความเป็นเจ้าของบริษัท
หรือไม่แน่ว่า บรรดาผู้ถือหุ้นรายเล็กอาจร่วมมือกับนักลงทุนรายอื่น เพื่อทำการยึดบริษัท และปลด Keyman ออกจากตำแหน่งในการบริหาร ก็เป็นไปได้เช่นกัน
ที่สำคัญคือ กรณีแบบนี้ก็เคยเกิดขึ้นมาแล้วจริงๆ
เช่น กรณีของ คุณพาเวล ดูรอฟ ผู้ก่อตั้ง และ Keyman ของ VK.com แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียของประเทศรัสเซีย
โดยเริ่มแรกเขาถือหุ้นอยู่ในบริษัทเพียง 20%
ต่อมาบริษัทอินเทอร์เน็ตรายใหญ่ของรัสเซียอย่าง Mail.ru
ได้กว้านซื้อหุ้นของ VK.com จนมีสัดส่วนการถือหุ้นมากกว่าคุณพาเวล ดูรอฟ
และได้ร่วมกับผู้ถือหุ้นรายเล็ก เพื่อบีบเขาออกจากตำแหน่งได้สำเร็จ
อีกเรื่องที่น่าสนใจ คือ วิธีการแบ่งหุ้นแบบที่ในซีรีส์เรื่องนี้เสนอไว้นั้นใกล้เคียงกับวิธีการแบ่งหุ้นที่เรียกว่า Dynamic Equity Split หรือ DES
ซึ่งวิธีการแบ่งหุ้นแบบ DES กำลังได้รับความนิยมในบริษัท Start-up มากขึ้น
วิธีการแบ่งหุ้นแบบ DES ไม่แนะนำให้เราแบ่งหุ้นให้ทุกคนเท่าๆ กัน
แต่จะแนะนำให้แบ่งตาม “ผลงาน”
โดยผลงานจะประเมินจากหลากหลายปัจจัย เช่น เวลาที่ทุ่มเทให้บริษัท, เงินทุน, ไอเดีย, สำนักงานและอุปกรณ์, เครือข่ายทางธุรกิจ และอื่นๆ
อย่างไรก็ตาม สัดส่วนในการถือหุ้นอาจมีการเปลี่ยนได้ในอนาคต
โดยจะขึ้นอยู่กับทักษะและความสามารถในการทำงาน หรือ จำนวนผู้ถือหุ้นที่เพิ่มขึ้น เป็นต้น
แต่สิ่งที่สำคัญที่สุดในการแบ่งหุ้น ก็คือ ความชัดเจน
ไม่ว่าจะเป็นบริษัทใดๆ ก็ตาม การแบ่งหุ้นต้องระบุชัดเจน เป็นลายลักษณ์อักษร
เพื่อป้องกันความคลุมเครือ และขัดแย้งกัน ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
ทั้งหมดที่เราได้สรุปไปในบทความนี้ เป็นเพียงส่วนเล็กๆ ของซีรีส์เรื่อง START-UP เท่านั้น
สำหรับใครที่กำลังท้อแท้ หรืออยากหามุมมองใหม่ๆ ให้กับตัวเอง
ลองเข้าไปดูเรื่องนี้ใน Netflix ได้เลย
รับรองว่า นอกจากจะได้ความบันเทิงครบรสแล้ว
ยังจะได้ทั้งข้อคิดทางธุรกิจ และการใช้ชีวิตกลับมาเพียบเลย
╔═══════════╗
ไอเดียเริ่มต้นที่ Blockdit ทั้งในรูปแบบ
บทความ วิดีโอ พอดแคสต์ และซีรีส์
ลองใช้กันที่ Blockdit.com/download
Blockdit. Ideas Happen.
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-START-UP (2020) on Netflix
-https://www.set.or.th/set/enterprise/article/detail.do?contentId=6325
-https://www.scb.co.th/th/personal-banking/stories/open-startup-investment.html
keyman youtube 在 安俊豪Simon On Youtube 的最佳解答
#KEYMAN #安俊豪 #VSing
今次請黎VSing同我一齊玩KEYMAN既COVER
好爽呀!!!
大家想聽下 A cappella既Version
就唔好錯過嘞!!!
想睇返原汁原味既KEYMAN MV
傳送門 : https://www.youtube.com/watch?v=LtRzEzkCJ2o
特別鳴謝
Pang
Victor
Sophie
YB
以上呢四位, 都對KEYMAN好重要!!!
「追擊安俊豪」
Facebook : https://www.facebook.com/simonho1029
IG : https://instagram.com/simonho1029"
「追擊VSing」
Facebook : https://www.facebook.com/VSingofficial/
IG : https://www.instagram.com/vsingofficial
Youtube : https://www.youtube.com/channel/UCPXmdG3T2dkY0qPedzvyeqA
keyman youtube 在 飲食男女 Youtube 的精選貼文
還記得這款Bling Bling酒嗎?兩年前於網上瘋狂洗版,她就是始作俑者。熱潮過去,她轉而賣清酒,事業成功。一家三口和樂融融,羨煞旁人。但背後的故事,跟兒歌一樣,又越過高山又越過谷。
「我18歲要擔起家庭,一屋都是老人。媽媽、婆婆,還有老狗。」當時媽媽叫高䠷的她選港姐,她拒絕,理由竟然是,「我不想減肥,不想穿三點式,減肥就不能吃好的。」她自小父母離異,但小時候家境好,家中有廚師,小時候已喝Lafite。自小愛飲食,想做廚師,但家裏 不准,怕她辛苦,更怕她手瓜起?,嫁不出。
18歲,放棄選港姐的機會,寧願日間去美容院上班,晚上去酒吧做調酒師。「調酒可以邊做邊學。」她發現自己對味覺和嗅覺都很敏銳,「那時我們引入了超過200款蘇格蘭威士忌,後期不需要喝,打開蓋,嗅一嗅,就知道是哪個牌子,哪個年份。」兩年後,酒吧結業。她沒有大學畢業證書,難找工作,「我只識飲食。」所以立下決心要創業,做酒商。為了賺第一桶金,加入保險公司,做冷門得不得了的要員保險(Keyman insurance)。
整整一年半,窮得每月只有$1,600零用,飲食、交通、電話費、上網全靠它。幸好年半後,終於給做成第一單,也是唯一一單的保險生意,賺到100萬。「得咗!可以創業了,之後雄心勃勃去創業,之後慘了。原來可以一次過輸清光。」來來回回入錯很多酒,當時不懂去歐洲,並非自己親自去入貨,供應商又未必供應最好的給她。
「把事情看得太簡單,不用一年就花光了所有金錢。」Diana卻不甘心,「自己還可以做甚麼?無錢,就借吧。」由無到有,再借錢,變負數,壓力一路一路沉重。「直至遇到丈夫,他像我一盞明燈,才開始有轉機。」兩人經朋友介紹,很快開始同居生活,「他跟我說,做我的後盾。」二人一起去歐洲入貨。「影響最深是去西班牙小島Ibiza,一個rave party的天堂。」那時她想人頭湧湧,如果手頭上都是她賣的酒,多好。
她朝着這目標,找來兩個西班牙人合作,創作了Bling Bling酒。「有甚麼元素可令酒變得閃爍?後來想到加入生果的粒子。但粒子太重的話,很快沉底,顏色亦要調配……」經過年多來的努力,閃閃酒終於面世,一炮而紅,甚至有許多人抄襲。bling bling背後,Diana的世界卻好灰。曾幾何時,酗酒酗到胃潰瘍。
「做閃閃酒時,有許多問題。這個不願讓步,那個又要我多付款,自己好愁,錢賺不來,又要多付錢,更怕產品胎死腹中。以前不喝水,一起床就開瓶rose。」瀕臨崩潰,只有一個人可以擔起她的半邊天。「那時先生說娶我,沖喜一下啦。」他們就這樣結婚,「結婚前三日才出院,手臂插喉插到青筋腫起。」直至結婚九個月,她才慢慢康復。經歷過種種,錢財身外物。「即使今日輸清光都無所謂。」甚麼叫幸福?
「最幸福就是回家看見兒子。」Diana面上漾起了甜蜜的微笑。
採訪:關廣恩
攝影:葉天榮
場地:Cheer Home, Gulu Gulu咕嚕咕嚕
===================================
立即Subscribe我哋YouTube頻道:http://bit.ly/2Mc1aZA (飲食男女)
新店食評,名家食譜,一App睇晒!
立即免費下載飲食男女App: http://onelink.to/etwapp
《飲食男女》Facebook:http://www.facebook.com/eatandtravel
飲食男女網站:http://etw.hk
Follow我哋Instagram,睇更多靚片靚相:http://bit.ly/2J4wWlC (@eat_travel_weekly)
keyman youtube 在 數碼捕籠 Youtube 的最佳貼文
一個係Youtube嘅數碼節目,
只要係同數碼有關,我地就會講!
仲會做大量開箱,
就算買唔起都叫玩左~
記得逢星期六晚8點收睇喇~!
FB:https://www.facebook.com/digitalcatcher