“ลิซ่า ซู” ผู้พลิก AMD ให้มูลค่าบริษัทโต 53 เท่า ใน 7 ปี /โดย ลงทุนแมน
หากพูดถึงบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการ์ดจอ
หลายคนคงนึกถึงบริษัท Nvidia ขึ้นมาเป็นอันดับแรก
แต่จริง ๆ แล้ว ยังมีอีกบริษัทที่ทำธุรกิจเดียวกัน
ชื่อว่า Advanced Micro Devices หรือ AMD
ที่ตอนนี้ ก็เรียกได้ว่าเป็นอีกหนึ่งผู้ผลิตการ์ดจอที่ใหญ่ที่สุดในโลก เช่นกัน
แต่กว่าจะมาเป็นวันนี้ได้ AMD ผ่านอุปสรรคมาเยอะพอสมควร
และเมื่อ 7 ปีก่อนบริษัทแห่งนี้มีมูลค่าเพียง 56,000 ล้านบาท
แต่ภายหลังจาก “ลิซ่า ซู” ขึ้นแท่นมาเป็น CEO ของบริษัท
เธอก็ได้ทำให้ AMD กลับมาเติบโตแบบก้าวกระโดด จนปัจจุบันมีมูลค่ามากถึง 3 ล้านล้านบาท
มูลค่าเพิ่มขึ้น คิดเป็น 53 เท่า ภายในระยะเวลาเพียง 7 ปี
เธอคนนี้ทำได้อย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ปัจจุบัน Advanced Micro Devices หรือ AMD เป็นบริษัทที่พัฒนาชิปประมวลผล, การ์ดจอ
โดยมีผลิตภัณฑ์ครอบคลุมให้กับนักเล่นเกมไปจนถึงธุรกิจองค์กร
โดยองค์กรที่ว่านี้ ยกตัวอย่างเช่น Google, Amazon, Microsoft, Tencent และ Oracle
แต่หากเราย้อนกลับไปในช่วงปี 2012 ถึง 2015
บริษัท AMD ประสบปัญหารายได้ลดลงและขาดทุนติดต่อกันถึง 4 ปี
นั่นจึงทำให้ในปี 2014 มูลค่าบริษัท AMD เหลือเพียง 56,000 ล้านบาท ซึ่งตอนนั้นหุ้นร่วงลงกว่า 40% ในปีเดียว
ย้อนกลับไป หลายคนก็น่าจะคาดการณ์กันว่า AMD น่าจะกลับเข้ามาแข่งขันได้ยาก
เพราะทั้งไม่เติบโตแถมยังขาดทุนต่อเนื่อง
แต่ ลิซ่า ซู ผู้บริหารที่เข้ามารับไม้ต่อขึ้นแท่น CEO กลับไม่ได้คิดแบบนั้น
แล้วเธอคือใคร ?
ลิซ่า ซู เป็นชาวอเมริกัน เชื้อสายไต้หวัน
เธอเกิดที่เมืองไถหนาน ประเทศไต้หวัน
แต่ภายหลังได้ย้ายมาอยู่ที่สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันเธออายุ 51 ปี
เธอจบการศึกษาทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก
ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าจาก Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT
หลังจากจบการศึกษา เธอได้ร่วมงานกับบริษัทยักษ์ใหญ่มากมาย
ไม่ว่าจะเป็น Texas Instruments, IBM, Freescale Semiconductor
แน่นอนว่าทุกงานล้วนเกี่ยวกับชิปเซต
จนกระทั่งในปี 2012 เธอได้เข้ามารับตำแหน่งรองประธานอาวุโสและผู้จัดการทั่วไปของ AMD
แต่พอบริษัทเข้าสู่ยุคตกต่ำ เธอก็ได้รับเลือกขึ้นมารับตำแหน่ง CEO เพื่อพลิกวิกฤติตั้งแต่ปี 2014
แม้ในช่วงแรกผลดำเนินงานของ AMD จะยังคงแย่อยู่ แต่ผ่านไปเพียง 3 ปี หรือในปี 2017
เธอก็ได้ทำให้กระแสเงินสดจากการดำเนินงานกลับมาเป็นบวกได้ครั้งแรกในรอบ 6 ปี
สิ่งที่เธอเข้ามาเปลี่ยนแปลงหลัก ๆ มี 2 อย่าง
- การปรับโครงสร้างทางด้านค่าใช้จ่าย
- การหาจุดโฟกัสใหม่เพื่อสร้างการเติบโต
และในปีเดียวกันนั้นเอง AMD ก็ได้เปิดตัว “Zen Architecture”
ซึ่งถือเป็นหนึ่งในนวัตกรรมที่เรียกได้ว่าคืนชีพบริษัทแห่งนี้ให้กลับเข้ามาแข่งขันได้อีกครั้ง
Zen Architecture เป็นเทคโนโลยีเฉพาะของบริษัท AMD ที่ใส่เข้าไปในชิปประมวลผล
หรือที่ใครหลายคนเรียกกันว่า CPU
เทคโนโลยีดังกล่าวก็ได้ทำให้ตัวชิปประมวลผลของทางบริษัท
มีคุณภาพที่ใกล้เคียงกับชิปของ Intel ซึ่งเป็นคู่แข่งคนสำคัญ
นอกจากนั้น AMD ยังได้พัฒนาชิปประมวลผล EPYC อ่านว่า อี-พิก
ซึ่งถือเป็นชิปเซตเพื่อใช้สำหรับการประมวลผลของเซิร์ฟเวอร์โดยเฉพาะ
และมีกลุ่มลูกค้าหลักเป็นบริษัทที่ให้บริการคลาวด์
ตัวอย่างสินค้าหรือบริการที่เรารู้จักกันดีอย่างเช่น AWS, Google Cloud หรือ Alibaba Cloud เองก็เลือกผลิตภัณฑ์ AMD EPYC ของทางบริษัท เช่นกัน
หรือแม้แต่คู่แข่งตลอดกาลในวงการคอนโซลเกม Playstation 5 และ XBOX series X/S ล้วนแล้วแต่ใช้ทั้งซีพียูและการ์ดจอของ AMD ทั้งคู่
ในขณะที่ฟากธุรกิจการ์ดจอ ทางบริษัทก็มีแบรนด์ Radeon และ Radeon PRO
ที่เป็นคู่แข่งกับ GeForce ของบริษัท Nvidia ที่กำลังอยู่ในเมกะเทรนด์
ทั้งในเชิงของวงการเกมมิงและการนำไปประมวลผลคริปโทเคอร์เรนซี
นอกจากจะเปิดตัวสินค้าตัวใหม่แล้ว อีกสิ่งสำคัญที่เธอทำก็คือ
การประกาศ Roadmap ที่ชัดเจนของตัวสินค้าในอนาคต
เพื่อเรียกความเชื่อมั่นต่อแบรนด์ที่หายไปตั้งแต่ขาดทุนหนัก ให้ฟื้นกลับมาอีกครั้ง
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา AMD ภายใต้การบริหารของลิซ่า ซู
ก็สามารถทำได้ดีตามที่เคยประกาศเอาไว้อย่างไม่มีปัญหา
จนสินค้าของบริษัทก็ได้กลับมาแย่งส่วนแบ่งเจ้าตลาดได้สำเร็จ
จากปี 2014 ที่ส่วนแบ่งธุรกิจ CPU เป็นของ Intel 75% และ AMD 25%
ปัจจุบันกลายมาเป็น Intel 60% และ AMD 40%
ถึงขนาดที่ว่าในปี 2020 ทางบริษัทคู่แข่งอย่าง Intel ถึงกับออกมา
ยอมรับว่าตัว CPU ของทางบริษัทตามหลังคู่แข่งอย่าง AMD เลยทีเดียว
ทีนี้ เราลองมาเปรียบเทียบผลประกอบการระหว่าง
ปีก่อนและหลังจากที่ ลิซ่า ซู เข้ามาดำรงตำแหน่ง CEO
ปี 2014 รายได้ 171,787 ล้านบาท ขาดทุน 12,573 ล้านบาท
ปี 2020 รายได้ 304,605 ล้านบาท กำไร 77,688 ล้านบาท
จะเห็นได้ว่าจากการปรับกลยุทธ์ทางธุรกิจไม่เพียงแต่สร้างการเติบโตเป็นเท่าตัว
ภายในระยะเวลาไม่กี่ปี แต่ยังทำให้บริษัทพลิกกลับมากำไรมหาศาล
จุดนี้ ก็ได้สะท้อนไปยังมูลค่าบริษัทที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจนสูงถึง 3 ล้านล้านบาท
เพิ่มขึ้นคิดเป็น 53 เท่า ภายในระยะเวลาไม่กี่ปี
หมายความว่าหากเรานำเงินไปลงทุนกับ AMD ในวันที่ ลิซ่า ซู เข้ามาเป็นผู้บริหาร 10,000 บาท
วันนี้ เงินก้อนนั้นจะมีมูลค่ามากถึง 530,000 บาท เลยทีเดียว
แล้วเรื่องนี้ให้ข้อคิดอะไรกับเรา ?
ในมุมของผู้บริหารธุรกิจ
หากเราคิดว่าผลิตภัณฑ์ของเรากำลังจะไม่เป็นที่ต้องการของตลาดแล้ว
ในบางครั้ง เราก็ต้องกล้าตัดสินใจและทำทันที โดยอาจจะเริ่มจากการดูจุดแข็งของเรา
ว่าเรามีอะไร ตลาดต้องการอะไร และลงมือทำ
อย่างในกรณีของ AMD ที่ได้คิดค้น “Zen Architecture” ขึ้นมา
ในเชิงของบริษัท
จะเห็นได้ว่าจริง ๆ แล้ว ลิซ่า ซู เป็นลูกหม้อที่ทำงานในบริษัทอยู่แล้ว
หากบริษัทจำเป็นที่จะต้องเลือกผู้นำในยามวิกฤติ
การมองหาพนักงานที่มีศักยภาพภายในบริษัท
ก็อาจจะเป็นอีกตัวเลือกที่ดี ไม่แพ้การไปว่าจ้างผู้บริหารมืออาชีพจากบริษัทอื่น
ในเชิงของ CEO และมูลค่ากิจการ
จริงอยู่ว่าผู้บริหารสามารถประกาศอะไรต่อสาธารณะก็ได้
ตั้งแต่ Roadmap ที่สวยหรูไปจนถึงการคาดการณ์ผลประกอบการที่โตระเบิด
สิ่งสำคัญที่สุด มันจะไม่ใช่ทั้งคำจินตนาการถึงอนาคตและตัวเลขที่จำลองขึ้นมา
แต่เป็นผลลัพธ์ที่ “ทำได้จริง” ซึ่งมันส่งผลต่อความเชื่อมั่นของทั้งตัวผู้บริโภค รวมถึงนักลงทุน เหมือนอย่างที่ คุณลิซ่า ซู ทำกับ AMD ได้สำเร็จ..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://en.wikipedia.org/wiki/Advanced_Micro_Devices
-https://en.wikipedia.org/wiki/Lisa_Su
-https://www.cpubenchmark.net/market_share.html
-https://edition.cnn.com/2020/03/27/tech/lisa-su-amd-risk-takers/index.html
-AMD annual report 2012,2014,2020
-https://www.jitta.com/stock/nasdaq:amd/factsheet
oracle stock 在 寫點科普 Facebook 的最佳貼文
這篇貼文內容是我在2/6週六晚上在Clubhouse首度開設房間,探討「SaaS企業收入結構」的Speech部分摘要 (我在會議開始前列的筆記)。
在舉辦之前,我為這個房間所設立的目標就是在Clubhouse上面拋磚引玉,用自己的分析釣出更多其他厲害從業人士的分析。所以花了非常多時間準備很多關於本次主題的議題,也很開心能夠收穫超級多不同講者的分享和不同意見的討論。
到最後從新創公司估值模型的探討到SaaS商業模式變現指標到雲端運算大廠到的競合,整整兩小時沒有一秒鐘是可以放鬆聽的閒聊,每一句話都是滿滿的乾貨精華。老實說這是我自己參加的房間當中最多專有名詞和內容深度的一場,全得感謝那天晚上上台分享的厲害講者們,第一次開房間就是超長時間燒腦的探討,彷彿在開學術交流大會😂即便筋疲力竭但也非常開心!!
以下內容po出來是為了讓沒能參與到、或希望回顧討論內容的讀者們;僅限於我本人觀點,為保護講者在Clubhouse上暢所欲言的隱私性、與我寫出來又二次傳播時可能因我個人理解上與講者本意有歧義,故以下內容並不包含講者說法。錯過的讀者朋友們也不用擔心,之後我在Clubhouse也會陸續邀請這些講者們再次與我們交流分享,Just stay tuned & follow me on Clubhouse😜 @kopuchat
當然以下有些內容是我為了節省時間方便說明粗略使用並不是最完美的指標(比如以下用PE來做舉例只是為了更加直觀了然)大家加減看就好哈哈,有時間我會再把它寫成更深入的文章
-------------
首先,SaaS公司是什麼?Software-as-a-Service;不是把軟體安裝在你的電腦上,而是在雲端上、用網頁瀏覽器做登入。這個產業當中的知名服務包括CRM系統Salesforce、信件發送系統Mailchimp、人資系統Bamboo,或是去年底才剛進入一億美金獨角獸俱樂部的三家:Udemy for Business、Expensify和UserTesting。
然而為什麼一家SaaS公司值錢?首先我們來給「值錢」這件事情下一個定義:
一般傳統美股公司的本益比/市盈率PE Ratio, Stock Price/Earning per share, 股價/每股盈餘差不多是20;比如說Intel本益比是11、3M本益比是19、Oracle本益比19。
讓我們來簡單算一下,假設我年營收是 1000 萬美金、淨利大概10%左右也就是100萬美金,所以市值等於淨利乘上本益比,也就是100*20 = 2000萬美金;也就是你營收 1000 萬美金的公司、有 2000 萬美金的市值,市值大概是營收的兩倍。
但你可以看到營收1000萬美金的SaaS公司很多就直接估值1億美金,也就是營收的10倍,甚至是估值20倍、30倍的也有;或像Clubhouse這様連變現機制都還沒有做的服務,估值就已經10億美金。
這邊我要介紹一間公司叫Salesforce,它是 Oracle 的高級副總裁跳出去創辦的雲端 CRM 系統,是目前全球最大的CRM系統商,也早在2004年就上市了,大家猜它的本益比是多少?現在它的本益比是64(市值約莫是營收 10 倍)。
好,既然我們給SaaS公司比其他人值錢的這個概念下了一個量化的指標,也就是市值可以是其他類型商業模式的好幾倍,接下來讓我們來問:SaaS公司值錢的原因?它的服務模式跟其他商業模式的區別是什麼?
這邊我直接告訴大家答案:讓 SaaS 服務有別於一般服務的區別是,它基本上是以訂閱制作為商業模式。而SaaS公司的收入可以分為三種類型:
A) New Business 創造新業務
B) Renewals 針對既有業務維持留存率
C) Upsell 將既有客戶的訂閱金額擴大
我們來想一下,一般軟體、或是一般實體產品的供應商像汽車或飲料,是怎麼銷售的?傳統上其實是一性的賣斷服務,像Oracle之前就是賣斷制的 CRM 系統。然而 SaaS 的服務則是用訂閱制、也就是按年付費租用的形式;舉例來說,假設我一個 CRM 跟 Oracle 買斷花 40 萬美金,然而跟 Salesforce 則是每年 10 萬美金的方式在做訂閱。(數字非真實僅舉例用)
乍看之下,按年付費租用服務和一次性賣斷的服務,看似只是報價方式的區別,實際上這是一個核心上完全不一樣的商業模式,包括服務模式、銷售模式、公司估值等多層面向上都有著翻轉的影響。
以賣斷制的企業而言,讓我們來做一個非常簡單的假設:
公司業務只有固定10人,每一業務一年內可接觸的客戶量有限。賣斷制的話,由於每一年的成單轉換率或是大市場環境都有變動,所以在收入上可能第一年是1000張單、第二年900張單、第三年1300張單...
你可以發現如果我把這個營收畫成一張逐年的趨勢圖的話,會變成一個高高低低的圖表,也就是公司營收會仰賴整個市場上的業績情況跟市場風向,沒有辦法看到整個公司的整體性。
但如果是SaaS訂閱模式,它其實是把售價改成年化的方式來讓客戶分期付款,因此同一家公司同樣人數的業務人員,每年一樣逐年簽入新客戶,如果他們都有續約的話,客戶總數將會成為複利的方式在成長。
用一個更直觀的假設舉例:就算在沒有任何業績成長的前提下,每年收入一樣都是固定1000張單、續約率是90%,公司總收入會在第三年就翻2.7倍、五年翻4倍、十年就翻6.5倍。但新創公司怎麼可能新業績0成長?常見每年20~30%甚至是60%~70%成長的情況下,你就知道這樣收入成長數字會有多可怕了!
所以我們這邊可以得到一個結論:SaaS公司的本質是什麼?
【SaaS的本質就是續費】這邊再給大家一個數字參考,如果我們轉而假設這家 SaaS 公司的每年續約率只有50%,十年後的總營收就會變成只有十年前的 2 倍。以創投的角度而言,相當於這個公司就沒有任何投資價值。
-----
總而言之,為何訂閱制能成為潮流?對客戶與廠商雙方而言,我們都可以總結兩大環境因素:
*客戶方
1. 軟體產業變化太快,同一套軟體工具很快就過時、買斷不划算
2. 客戶大多數無法確定自己的需求,訂閱制較低廉的初始金額可以大幅降低簽約門檻
*廠商方
1. 把波動劇烈的銷售金額拉成好看的成長曲線
2.跟客戶有更密切合作與維繫長期關係的機會,創造Upsell空間
---
事實上,我也並不是要說賣單位制商品的商業模式就不賺錢或不值得投資。雖然商品的每年銷量都會根據市場情況波動,但如果市場畫出來的餅夠大一樣非常有前景,比如每年光靠總體市場成長而就能享有20~30%收入成長的公司也非常多。比如你也可以發現Tesla現在不搞訂閱制度只賣車、不用靠訂閱的客戶數去疊成長,光靠市場就能持續成長。
這種商業模式需要仰賴兩大成長:
1.市場本體的成長
2.銷售通路拓張的成長 (銷售通路要可以覆蓋到足夠多的區域才能銷售量)
但當市場成長如果停滯的時候呢?你就可以注意到企業可能會透過推出訂閱制來維持成長。最明顯的例子是Microsoft,目前它的Office系列在企業端已停售賣斷制並停止更新,改成訂閱制加送雲端空間lol
------------------
再次謝謝參與討論的讀者們,我下一次討論一樣會開在週末 (天啊過年期間好折磨大家)
目前有幾個主題在考慮:「Agora (WebRTS) V.S. Twilio (VoIP)或是「Google在上一年Q4的財務報表分析」或是「全球新興社交App創新與前景」應該都會陸續開房間閒聊,只是要先開哪一個而已。也會同樣在我自己做完功課後產出sharings再拋磚引玉。也歡迎大家有其他想要聊的主題也歡迎留言提供意見給我參考😉
oracle stock 在 M觀點 Facebook 的最佳貼文
在 CNN 的另一篇報導中看到一些其他新聞沒有透露的細節資訊,如果這些為真,那我收回川普輸一半那部分的評論。
---
CNN 這個報導裡面有些有趣的細節,如果真的細節是這樣,難怪川普會大致同意。
1. Oracle 要 Review TikTok 的原始碼。
2. 新公司的董事會成員要美國政府同意。
3. 其中一名董事要負責成立安全委員會,這個委員會的名單要美國政府同意。
If the arrangement gets a formal green light, ByteDance would continue to be the majority shareholder in the short-form video app, the person said. TikTok would also become a global company with headquarters in the United States, while Oracle will host TikTok's user data and review TikTok's code for security. The deal is meant to satisfy the US government's national security concerns about the app.
Under the proposal, the US government would approve members of TikTok's board; one board member is to be an expert in data security and would hold a top-secret security clearance, according to the person. That appointee would also be responsible for chairing a security committee whose members would be US citizens individually approved by the US government, the person said.
The new global company is expected to file for an initial public offering in about 12 months, the person said, with plans to be listed on a US stock exchange.
oracle stock 在 8 Pillar Stock! | Best Stocks to Buy? - YouTube 的推薦與評價
... <看更多>