Kilimanjaro กับ AMS
อาทิตย์นี้มีนักเดินเขามา admit ด้วยเรื่อง mountain sickness แล้ว 4 คนที่นี่ ทุกคนมาด้วยอาการเดียวกันคือปวดหัวมาก และเกิดอาการที่ระดับความสูงประมาณ 3,500 - 4,000 เมตรในช่วงขาขึ้น การเดินจบลงด้วยลูกหาบพาลงมาที่โรงพยาบาลด้านล่าง
จากสถิติที่ผ่านมา 70% ของคนที่จะมาขึ้นคิลิมานจาโรอย่างน้อยต้องมีอาการ AMS บ้างไม่มากก็น้อย และคนเกือบทั้งหมดใช้เวลาในการให้ร่างกายปรับตัวน้อยมาก เพราะยิ่งอยู่นานบนภูเขายิ่งแพง (รัฐบาลแทนซาเนียเก็บเงินค่าธรรมเนียมรวมๆ 130 USD ต่อวันที่อยู่ในเขตอุทยาน ไม่นับค่าอย่างอื่น) ทุกคนเลยรีบขึ้นและรีบลงอย่างเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ แต่คนเสียชีวิตไม่เคยมีรายงานในช่วงหลังด้วยความที่เขาห้ามเดินคนเดียวและต้องมีไกด์ประกบตลอด เลยแก้ปัญหาได้ทันท่วงที
เคสที่น่าสนใจคือ
คนหนึ่งมาด้วยปวดหัวก็จริงแต่ผลวินิจฉัยสุดท้ายไม่ได้เป็น AMS แต่กลับเป็นเลือดออกในสมองแทน (Subarachnoid hemorrhage) และต้อง refer ไป Nairobi เพราะไม่มีหมอผ่าตัดสมองที่นี่
อีกเคสน่าสนใจกว่า เพราะด้วยความที่เริ่มมีอาการปวดหัวมาก เขาจึงทานน้ำไปกว่า 6 ลิตรในเวลาไม่กี่ชั่วโมง ถูกพามาด้วยซึมแทน ตอนแรกคิดว่าสมองบวม (HACE) แต่สุดท้ายคือ ภาวะโซเดียมในเลือดต่ำแทน (Symptomatic hyponatremia) จาก polydipsia แทน ถือเป็นอะไรที่ได้เรียนรู้ดีครับ
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
polydipsia 在 加護病房查房日誌 Facebook 的精選貼文
加護病房查房日誌 20151019-專科護理師篇 # 低血鈉
很抱歉,因為蛀叫的手機掛點,拍得照片不清不楚~ 上一堂課的照片已經重新上傳囉~ 如果有興趣的同學,每過一陣子,蛀叫把原稿整理成冊,來抽獎好了~
今天,我們繼續來談低血鈉最常見的部分: 低血鈉合併低張狀態,也就是所謂的真性低血鈉 (Hyponatremia with hypotonicity / True Hyponatremia).
常理而言,血鈉濃度太低,就是代表溶液(水份)相對於溶質(鈉離子)過多了~ 而呈現一種低張狀態! 那當身體水太多時,就會想要把多餘的水份從尿液排出!所以可以先驗一下個案的尿液滲透壓 (urine osmolality )~
I. Urine osmolality < 100 mOsm/Kg
意思是尿很稀,身體很努力要把多餘的水排出!那很好呀,既然如此,為何還會低血鈉呢?!這種情形會發生在原發性暴飲症(primary polydipsia)的病人身上~ 無限制的水分攝取,超過了身體努力的排出!有種情形是所謂的Beer potomania~ 因為快速飲用了大量的啤酒造成!偶爾可在一些嘴巴比腦袋厲害的人身上看到~
有些老年病患身體排除過多水份的能力下降,可能會因為長期攝取低溶質飲食(低蛋白質和NaCl)產生低血鈉。曾經聽一位營養師說過,在台灣長期管灌的病患,不知是不是因為體質,很容易有輕微低血鈉!因此會在管灌飲食中額外加鹽巴補充~
傳統TURP手術使用低張性非導電性液體來做膀胱灌洗,而它們手術中的吸收會造成稀釋性低血鈉症!也算在此類~
II. Urine osmolality > 100 mOsm/Kg
意思是,就算身體水很多,還是無法從尿液順利的將多餘的水分排出!臨床上最多的就是這種情形啦! 接下來,就要評估病患細胞外液容積(ECFV)的情形囉~
1. ECFV 增加:
代表著,病患看起來跟驗起來,水都太多啦!腎臟排水能力受到損害伴隨連續水分攝取是低血鈉的原因~ 而水腫,是因為鈉離子排出缺陷所導致~ 翻譯一下,這樣的病人水跟鈉離子都太多,水比鈉更多造成低血鈉,而鈉離子太多造成ECFV增加水腫的情形!水腫的情況下,尿液的鈉離子濃度通常很低 (<10 mEq/L),像是心臟衰竭,肝硬化,腎病症候群。 有時候,腎功能受損造成水排出太少但鈉離子排出過多(Na+流失型腎病變),會造成ECFV 增加,但是尿液的鈉離子濃度是高的 (>20 mEq/L)!
2. ECFV 正常:
有聽過抗利尿激素 (Anti-diuretic horrmone )嗎? 當身體覺得你尿太多了,或水份太少了,就會分泌ADH來減少尿液排出,增加水分的留存!所謂的 SIADH ( syndrome of inappropriate antidiuretic hormone secretion)抗利尿激素分泌不適當症候群,就是指抗利尿激素一直不當分泌,水分一直滯留~ 結果就是造成鈉離子濃度的下降!由於鈉離子沒有滯留,所以比較不會有明顯的水腫!
任何嚴重的中樞神經問題(腫瘤,感染或外傷) 及許多肺臟問題 (肺炎,肺結核,小細胞肺癌)都可能造成SIADH。手術後狀態常和ADH分泌增加有關。許多藥物也會造成SIADH,機轉是可能增加體內ADH的分泌、對腎臟造成類似ADH的效果、或是加強了內生性ADH的效果!
甲狀腺功能低下(Hypothyroidism)或是腎上腺功能不足(Adrenal insufficiency),也會造成ECFV 正常的低血鈉!機轉粉複雜…在搞不清楚低血鈉原因時,這兩種情形必須要考慮!
3. ECFV 減少:
病患看起來很乾,卻低血鈉?!身體正常時會想辦法把鈉離子留在身體裡,因此會減少鈉離子從尿液排出~ 所以來看一下尿液的鈉離子濃度吧!
A. Urine Na+ > 20 mEq/L:
鈉離子莫名其妙的被腎臟從尿液過度排出了!最常見是利尿劑的使用,或是低醛固酮血症(Hypoaldosteronism)。
B. Urine Na+ < 10 mEq/L:
鈉離子被留存在身體裡了! 有時候是因為之前利尿劑的使用或是大量嘔吐造成的。
低血鈉在臨床上的課題在於,人生是很複雜的... 會不會病人有長期管灌,心衰竭用利尿劑又加上一個肺炎感染住院~ 多的是! 因此,在面對低血鈉的病患時,要想著可能有著錯綜複雜的病因,小心的分析謹慎的針對各個原因治療~ 希望對大家有些幫助~
polydipsia 在 Primary Polydipsia (Hyponatraemia) - YouTube 的推薦與評價
... <看更多>