หลักคิดในทางกฎหมายเอกชน
กฎหมายเอกชน (Private Law) คือ บรรดากฎเกณฑ์ทางกฎหมายที่กำหนดความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย โดยที่คู่กรณีทั้ง 2 ฝ่ายอยู่ในฐานะเท่าเทียมกันว่าด้วยนิติสัมพันธ์ด้วยความสมัครใจโดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ การดำเนินการเพื่อประโยชน์ส่วนตัว
ดังนั้นนิติวิธีทางกฎหมายเอกชน (Legal Method of Private Law) คือ กระบวนการคิดหรือวิธีคิดอย่างเป็นระบบในทางกฎหมายเอกชนที่มีหลักการคิดว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2 ฝ่ายโดยที่คู่กรณีทั้ง 2 ฝ่ายอยู่ในฐานะเท่าเทียมกัน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวของเอกชนเอง แต่การแสดงเจตนาของบุคคลนั้นต้องอยู่บนพื้นฐานของหลักความเสมอภาคและนิติสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนที่ต้องเกิดขึ้น โดยความสมัครใจภายใต้หลักเสรีภาพในการทำสัญญา ที่เรียกว่า “นิติกรรม” (Juristic Act) แต่ทั้งนี้เสรีภาพแห่งการ แสดงเจตนานั้นต้องกระทำภายใต้หลักสุจริตและต้องไม่เป็นการกระทำที่พ้นวิสัย ไม่ขัดกับหลักความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน ซึ่งนำไปสู่หลักความศักดิ์สิทธิ์แห่งการแสดงเจตนาที่รัฐต้องออกกฎหมายรับรองบังคับให้ตามเจตนานั้น
แต่อย่างไรก็ตามยังมีนิติวิธีกฎหมายเอกชนอีกประการหนึ่งของการเกิดนิติสัมพันธ์ที่ไม่ได้เกิดจากการแสดงเจตนาโดยสมัครใจในการสร้างนิติสัมพันธ์แต่กฎหมายกำหนดให้เกิดนิติสัมพันธ์ขึ้น คือ “นิติเหตุ” (Proximate Cause) เช่น ละเมิด จัดการงานนอกสั่ง เป็นต้น
「กฎหมายเอกชน」的推薦目錄:
กฎหมายเอกชน 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
นิติวิธีทางกฎหมายมหาชน
นิติวิธีทางกฎหมายมหาชน กับ นิติวิธีทางกฎหมายเอกชน
ถาม นิติวิธีทางกฎหมายมหาชน หมายถึงอะไร
ตอบ นิติวิธีทางกฎหมายมหาชน
นิติ คือ กฎหมาย
วิธี คือ กระบวนการคิด
กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่มีความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐ รัฐกับเอกชน หน่วยงานของรัฐด้วยกัน หน่วยงานของรัฐกับเอกชน เจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนกระทำไปเพื่อประโยชน์ส่วนรวม โดยที่รัฐ หน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐมีอำนาจเหนือกว่าเอกชน
ดังนั้น สรุปได้ว่า นิติวิธีทางกฎหมายมหาชน คือ กระบวนการวิธีคิดที่เป็นระเบียบแบบแผนในทางกฎหมายมหาชนที่มองถึงประโยชน์สาธารณะกับดารคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประขาชนให้เกิดดุลยภาพกันในสังคม
ถาม กระบวนการวิธิคิดในทางกฎหมายมหาชน มีวิธีคิดอย่างไร
ตอบ กระบวนการวิธีคิดในทสงกฎหมายมหาชน มี อยู่ 2 วิธี คือ นิติวิธีหลักกับนิติวิธีประกอบ
ถาม นิติวิธีหลัก คือ อะไร มีหลักคิดอย่างไร
ตอบ นิติวิธีหลัก คือ หลักคิดที่มองถึงการใช้หลักกฎหมายมหาชนที่มองประโยชน์ส่วนรวม และมองถึงการใช้อำนาจรัฐ มีวิธีคิด ดังนี้
1.1 ปฎิเสธหลักกฎหมายเอกชน มีข้อพิจารณา คือ
1.1.1 เหตุผลของการปฎิเสธ เพราะกฎหมายมหาชนมีความแตกต่างไปจากกฎหมายเอกชน คือ กฎหมายเอกชนมุ่งหมายคุ้มประโยชน์ส่วนตัว แต่มหาชนมุ่งหมายคุ้มครองประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก เอกชนอำนาจเท่าเทียมกัน มหาชนรัฐหน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐมีอำนาจเหนื่อ กว่า
1.1.2 หลักการปฏิเสธ มี ดังนี้
1.การปฏิเสธในระดับวิธีพิจารณาคดี คือ
เอกชนใช้ระบบกล่าวหา มหาชนใช้ระบบไต่สวน
แต่มีข้อสังเกต คือ
1)กฎหมายอาญาซึ่งเราถือเป็นกฎหมายมหาชน จะใช้ระบบวิธีพิจารณาแบบกล่าวหา
2) การแบ่งประเภทกฎหมายนี้ จะกล่าวถึงประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายซิวิลลอว์ เป็นหลัก เพราะระบบกฎหมายคอมมอนลอว์ทุกประเภทกฎหมายขึ้นศาลเดียวคือ ศาลยุติธรรม ใช้ระบบวิธีพิจารณาแบบกล่าวหา
2.การปฏิเสธระดับองค์กรพิจารณาคดี คือ เอกชนใช้ศาลยุติธรรมพิจารณาคดี
มหาชนใช้ศาลพิเศษ ได้แก่ คดีปกครองขึ้นศาลปกครอง คดีรัฐธรรมนูญขึ้นศาลรัฐธรรมนูญ
1.2 นิติวิธีเชิงสร้างสรรค์
เมื่อปฏิเสธหลักกฎหมายเอกชน ก็ต้องสร้างหลักกฎหมายมหาชน ขึ้นมา คือ
1.2.1 การสร้างหลักกฎหมายมหาชนเพื่อประโยชน์สาธารณะ
1)ประโยชน์สาธารณะเชิงการกระทำ คือ ทำไปเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
2)ประโยชน์สาธารณะเชิงการควบคุมคือ ควบคุมให้สังคมสงบสุขเพื่อส่วนรวม
1.23 สร้างหลักมหาชนในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
1)การรับรองสิทธิเสรีภาพ ให้ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ
2)การจำกัดสิทธิเสรีภาพ ห้ามประชาชนที่ไปละเมิดสิทธิเสรีภาพคนอื่น
3)การกำหนดองค์กรขึ้นมาคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ ที่เกิดจากการทำของบุคคลอื่นไม่ว่ารัฐ หรือเอกชน เช่น ศาล
ถาม นิติวิธีประกอบ คืออะไร และมีวิธีคิดอย่างไร
ตอบ นิติวิธีประกอบ คือ วิธีคิดในแบบปรัชญาทึ่อยู่เบื้องหลังของการสร้างหลักกฎหมายมหาชน ที่เป็นนิติวิธีเชิงสร้างสรรค์
มีวิธีคิด คือ
1. การเปรียบเทียบกฎหมาย หรือ การรับเอากฎหมายต่างประเทศ การศึกษาแบบอย่างกฎหมายมหาชนที่ดีที่อารยประเทศยอมรับ ที่เป็นหลักสากล เพื่อบัญญัติ การปรับใช้ และการตีความ มาใช้ในประเทศเรา
2.นิติวิธิเชิงประวัติศาสตร์ การศึกษาประวัติความเป็นมาของกฎหมายที่รับมาหรือศึกษาถึงปัญหาในอดีตเพื่อจะนำกฎหมายมาแก้ไขในประเทศเรา
2.3 นิติวิธีเขิงสังคม การนำกฎหมายมาใช้ในสังคมหรือประเทศเราได้หรือไม่
ถาม เมื่อเรารู้ถึงนิติวิธีทางกฎหมายมหาชน ซึ่งปฏิเสธหลักกฎหมายเอกชน แล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่า นิติวิธีทางกฎหมายเอกชน มีวิธีคิดแบบไหน
ตอบ กฎหมายเอกชน (Private Law) คือ บรรดากฎเกณฑ์ทางกฎหมายที่กำหนดความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย โดยที่คู่กรณีทั้ง 2 ฝ่ายอยู่ในฐานะเท่าเทียมกันว่าด้วยนิติสัมพันธ์ด้วยความสมัครใจโดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ การดำเนินการเพื่อประโยชน์ส่วนตัว
ดังนั้นนิติวิธีทางกฎหมายเอกชน (Legal Method of Private Law) คือ กระบวนการคิดหรือวิธีคิดอย่างเป็นระบบในทางกฎหมายเอกชนที่มีหลักการคิดว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2 ฝ่ายโดยที่คู่กรณีทั้ง 2 ฝ่ายอยู่ในฐานะเท่าเทียมกัน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวของเอกชนเอง แต่การแสดงเจตนาของบุคคลนั้นต้องอยู่บนพื้นฐานของหลักความเสมอภาคและนิติสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนที่ต้องเกิดขึ้น โดยความสมัครใจภายใต้หลักเสรีภาพในการทำสัญญา ที่เรียกว่า “นิติกรรม” (Juristic Act) แต่ทั้งนี้เสรีภาพแห่งการ แสดงเจตนานั้นต้องกระทำภายใต้หลักสุจริตและต้องไม่เป็นการกระทำที่พ้นวิสัย ไม่ขัดกับหลักความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน ซึ่งนำไปสู่หลักความศักดิ์สิทธิ์แห่งการแสดงเจตนาที่รัฐต้องออกกฎหมายรับรองบังคับให้ตามเจตนานั้น
แต่อย่างไรก็ตามยังมีนิติวิธีกฎหมายเอกชนอีกประการหนึ่งของการเกิดนิติสัมพันธ์ที่ไม่ได้เกิดจากการแสดงเจตนาโดยสมัครใจในการสร้างนิติสัมพันธ์แต่กฎหมายกำหนดให้เกิดนิติสัมพันธ์ขึ้น คือ “นิติเหตุ” (Proximate Cause) เช่น ละเมิด จัดการงานนอกสั่ง เป็นต้น
กฎหมายเอกชน 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
ทบทวน นิติวิธีทางกฎหมายมหาชน กับ นิติวิธีทางกฎหมายเอกชน
ถาม นิติวิธีทางกฎหมายมหาชน หมายถึงอะไร
ตอบ นิติวิธีทางกฎหมายมหาชน
นิติ คือ กฎหมาย
วิธี คือ กระบวนการคิด
กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่มีความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐ รัฐกับเอกชน หน่วยงานของรัฐด้วยกัน หน่วยงานของรัฐกับเอกชน เจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนกระทำไปเพื่อประโยชน์ส่วนรวม โดยที่รัฐ หน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐมีอำนาจเหนือกว่าเอกชน
ดังนั้น สรุปได้ว่า นิติวิธีทางกฎหมายมหาชน คือ กระบวนการวิธีคิดที่เป็นระเบียบแบบแผนในทางกฎหมายมหาชนที่มองถึงประโยชน์สาธารณะกับดารคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประขาชนให้เกิดดุลยภาพกันในสังคม
ถาม กระบวนการวิธิคิดในทางกฎหมายมหาชน มีวิธีคิดอย่างไร
ตอบ กระบวนการวิธีคิดในทสงกฎหมายมหาชน มี อยู่ 2 วิธี คือ นิติวิธีหลักกับนิติวิธีประกอบ
ถาม นิติวิธีหลัก คือ อะไร มีหลักคิดอย่างไร
ตอบ นิติวิธีหลัก คือ หลักคิดที่มองถึงการใช้หลักกฎหมายมหาชนที่มองประโยชน์ส่วนรวม และมองถึงการใช้อำนาจรัฐ มีวิธีคิด ดังนี้
1.1 ปฎิเสธหลักกฎหมายเอกชน มีข้อพิจารณา คือ
1.1.1 เหตุผลของการปฎิเสธ เพราะกฎหมายมหาชนมีความแตกต่างไปจากกฎหมายเอกชน คือ กฎหมายเอกชนมุ่งหมายคุ้มประโยชน์ส่วนตัว แต่มหาชนมุ่งหมายคุ้มครองประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก เอกชนอำนาจเท่าเทียมกัน มหาชนรัฐหน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐมีอำนาจเหนื่อ กว่า
1.1.2 หลักการปฏิเสธ มี ดังนี้
1.การปฏิเสธในระดับวิธีพิจารณาคดี คือ
เอกชนใช้ระบบกล่าวหา มหาชนใช้ระบบไต่สวน
แต่มีข้อสังเกต คือ
1)กฎหมายอาญาซึ่งเราถือเป็นกฎหมายมหาชน จะใช้ระบบวิธีพิจารณาแบบกล่าวหา
2) การแบ่งประเภทกฎหมายนี้ จะกล่าวถึงประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายซิวิลลอว์ เป็นหลัก เพราะระบบกฎหมายคอมมอนลอว์ทุกประเภทกฎหมายขึ้นศาลเดียวคือ ศาลยุติธรรม ใช้ระบบวิธีพิจารณาแบบกล่าวหา
2.การปฏิเสธระดับองค์กรพิจารณาคดี คือ เอกชนใช้ศาลยุติธรรมพิจารณาคดี
มหาชนใช้ศาลพิเศษ ได้แก่ คดีปกครองขึ้นศาลปกครอง คดีรัฐธรรมนูญขึ้นศาลรัฐธรรมนูญ
1.2 นิติวิธีเชิงสร้างสรรค์
เมื่อปฏิเสธหลักกฎหมายเอกชน ก็ต้องสร้างหลักกฎหมายมหาชน ขึ้นมา คือ
1.2.1 การสร้างหลักกฎหมายมหาชนเพื่อประโยชน์สาธารณะ
1)ประโยชน์สาธารณะเชิงการกระทำ คือ ทำไปเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
2)ประโยชน์สาธารณะเชิงการควบคุมคือ ควบคุมให้สังคมสงบสุขเพื่อส่วนรวม
1.23 สร้างหลักมหาชนในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
1)การรับรองสิทธิเสรีภาพ ให้ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ
2)การจำกัดสิทธิเสรีภาพ ห้ามประชาชนที่ไปละเมิดสิทธิเสรีภาพคนอื่น
3)การกำหนดองค์กรขึ้นมาคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ ที่เกิดจากการทำของบุคคลอื่นไม่ว่ารัฐ หรือเอกชน เช่น ศาล
ถาม นิติวิธีประกอบ คืออะไร และมีวิธีคิดอย่างไร
ตอบ นิติวิธีประกอบ คือ วิธีคิดในแบบปรัชญาทึ่อยู่เบื้องหลังของการสร้างหลักกฎหมายมหาชน ที่เป็นนิติวิธีเชิงสร้างสรรค์
มีวิธีคิด คือ
1. การเปรียบเทียบกฎหมาย หรือ การรับเอากฎหมายต่างประเทศ การศึกษาแบบอย่างกฎหมายมหาชนที่ดีที่อารยประเทศยอมรับ ที่เป็นหลักสากล เพื่อบัญญัติ การปรับใช้ และการตีความ มาใช้ในประเทศเรา
2.นิติวิธิเชิงประวัติศาสตร์ การศึกษาประวัติความเป็นมาของกฎหมายที่รับมาหรือศึกษาถึงปัญหาในอดีตเพื่อจะนำกฎหมายมาแก้ไขในประเทศเรา
2.3 นิติวิธีเขิงสังคม การนำกฎหมายมาใช้ในสังคมหรือประเทศเราได้หรือไม่
ถาม เมื่อเรารู้ถึงนิติวิธีทางกฎหมายมหาชน ซึ่งปฏิเสธหลักกฎหมายเอกชน แล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่า นิติวิธีทางกฎหมายเอกชน มีวิธีคิดแบบไหน
ตอบ กฎหมายเอกชน (Private Law) คือ บรรดากฎเกณฑ์ทางกฎหมายที่กำหนดความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย โดยที่คู่กรณีทั้ง 2 ฝ่ายอยู่ในฐานะเท่าเทียมกันว่าด้วยนิติสัมพันธ์ด้วยความสมัครใจโดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ การดำเนินการเพื่อประโยชน์ส่วนตัว
ดังนั้นนิติวิธีทางกฎหมายเอกชน (Legal Method of Private Law) คือ กระบวนการคิดหรือวิธีคิดอย่างเป็นระบบในทางกฎหมายเอกชนที่มีหลักการคิดว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2 ฝ่ายโดยที่คู่กรณีทั้ง 2 ฝ่ายอยู่ในฐานะเท่าเทียมกัน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวของเอกชนเอง แต่การแสดงเจตนาของบุคคลนั้นต้องอยู่บนพื้นฐานของหลักความเสมอภาคและนิติสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนที่ต้องเกิดขึ้น โดยความสมัครใจภายใต้หลักเสรีภาพในการทำสัญญา ที่เรียกว่า “นิติกรรม” (Juristic Act) แต่ทั้งนี้เสรีภาพแห่งการ แสดงเจตนานั้นต้องกระทำภายใต้หลักสุจริตและต้องไม่เป็นการกระทำที่พ้นวิสัย ไม่ขัดกับหลักความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน ซึ่งนำไปสู่หลักความศักดิ์สิทธิ์แห่งการแสดงเจตนาที่รัฐต้องออกกฎหมายรับรองบังคับให้ตามเจตนานั้น
แต่อย่างไรก็ตามยังมีนิติวิธีกฎหมายเอกชนอีกประการหนึ่งของการเกิดนิติสัมพันธ์ที่ไม่ได้เกิดจากการแสดงเจตนาโดยสมัครใจในการสร้างนิติสัมพันธ์แต่กฎหมายกำหนดให้เกิดนิติสัมพันธ์ขึ้น คือ “นิติเหตุ” (Proximate Cause) เช่น ละเมิด จัดการงานนอกสั่ง เป็นต้น
กฎหมายเอกชน 在 ทบทวน : กฎหมายเอกชน-กฎหมายมหาชน... - sittikorn saksang 的推薦與評價
ทบทวน : กฎหมายเอกชน-กฎหมายมหาชน ถาม กฎหมาย คือ อะไร ตอบ กฎหมาย คือ กฎ กติกาของมนุษย์ที่อยู่ร่วมกันในสังคม ถาม... ... <看更多>
กฎหมายเอกชน 在 ติวนิติศาสตร์ : LAW1002 (LAW1102) กฎหมายเอกชน (ภาค 1/65) 的推薦與評價
ติวนิติศาสตร์ #นิติศาสตร์ #LAW #ติว กฎหมาย สั่งซื้อได้ที่ http://www.vod.in.th Line ID : https://lin.ee/4J2VM9k☎ โทร. ... <看更多>