Known for redefining the conventions of beauty throughout her career, Kristen McMenamy appears in an image from the new Gucci Aria campaign wearing a multicolor sequin skirt with matching gloves and lace top. Seen in the third image is a book featured in the campaign: ‘Simulacra and Simulation’ by Jean Baudrillard. Discover more on.gucci.com/GucciAriaCampaign
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過29萬的網紅超級歪 SuperY,也在其Youtube影片中提到,立刻加入頻道會員,實際行動支持超級歪:https://www.youtube.com/channel/UCAM7yIYvZGYLJR6z6RqLlNw/join #超級歪電影院暨贈書活動 - 📣留言加分享本影片,就有機會抽《銀翼殺手》原著小說一本呦。 參加抽獎活動時間為期一週:2018.4.7 -...
baudrillard jean 在 偽學術 Facebook 的精選貼文
〖冰的守則〗就是Hi-Chew啊~ | #神還原 | 森永嗨啾葡萄冰棒 // 🍬
.
最近很流行「神還原」,這款1975年販售的森永Hi-Chew軟糖(紫葡萄、青蘋果),也就是陪伴我們一起長大的下課小糖果,在2016年時就推出「#還原版」冰棒,因為沒有很喜歡Hi-Chew軟糖的人造香精味,所以一直沒嘗試。
.
最近,因為在研究「神還原」的食品現象,就順手買一支來試試看。欸欸欸欸欸!這就Hi-Chew啊~ 根本一模一樣,那個紫色的人工香精葡萄外皮(清冰外層),加上內部軟軟黏黏的人工香精不知道什麼味道的甜甜夾心(冰淇淋內部),整個吃起來就是一個「#還原人工味道的人工味道」,比模擬更模擬,比真實還真實,超布西亞的~(Jean Baudrillard)
|
#價格:59元
#甜度:一般般
#味道:哥吃的是回憶
#外型:一個嗨啾感
|
#森永嗨啾葡萄冰棒
#森永
#icecream
#HiChew
#冰的守則
baudrillard jean 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
“โพสต์โมเดริ์นนิสซึม”
โดยนัฐวุฒิ สิงห์กุล
ความหมายของแนวความคิดหลังทันสมัยหรือหลังสมัยใหม่
ความคิดแบบหลังสมัยใหม่หรือPostmodernism เป็นการเปิดมุมมองที่หลากหลายด้านและหลายมิติ ซึ่งมองความแผ่ซ่านของอำนาจ ความรู้ ภาษาและวาทกรรมที่มีอิทธิพลเหนือชีวิตของผู้คนในยุคปัจจุบัน โดยความคิดแบบหลังสมัยใหม่ถูกมองออกเป็น 2 ลักษณะคือ ลักษณะแรกมองว่า ยุคโมเดิร์นผ่านพ้นไปแล้วหรือกำลังจะผ่านไปและยุคโพสต์โมเดิร์นกำลังจะเข้ามาแทนที่ ลักษณะทีสอง มองว่า ยุคโมเดิร์นยังคงอยู่แต่โพสต์โมเดิร์นออกมาท้าทายความความคิดความเชื่อแบบโมเดิร์น โดยให้ความสำคัญกับประสบการณ์ เน้นถึงความสำคัญของชีวิตประจำวันซึ่งสอดคล้องกับปรากฏการณ์ทางสังคม โดยแนวความคิดแบบโพสต์โมเดิร์นได้ท้าทายประเด็นทางวิชาการในเรื่องต่างๆดังนี้
1.การเคลื่อนตัวของการมองและการศึกษาในประเด็นทางเศรษฐกิจและการเมืองแบบโพสต์โมเดิร์น จากสังคมที่มีศูนย์กลางอยู่ที่การผลิตมาสู่สังคมบริโภคนิยมที่ตลาดก้าวมาเป็นจุดศูนย์กลางทางวัฒนธรรมแทนที่สิทธิอำนาจทางการเมือง
การบริโภคสัญญะแบบโพสต์โมเดิร์น ไม่ใช่เพียงการบริโภคเพื่อประโยชน์ใช้สอย(Use value)แต่เป็นการบริโภคเพื่อสื่อความหมายถึงบางอย่าง(Sign value) เช่น สถานะของเรา ตัวตนของเรา รสนิยมของเรา ภาพพจน์ของเรา เป็นต้น ดังเช่น ความคิดของ Jean Baudrillard มองว่าก่อนตัวสินค้าจะถูกบริโภคจะต้องถูกเปลี่ยนเป็นสัญญะก่อน โดยมีรหัส (Code)ต่างๆในการแปลงสินค้าให้เป็นสัญญะ(Sign) เช่น การมีลำดับชั้น การทำให้สินค้าเป็นเกรด A B C เพื่อทำให้สินค้าทำหน้าที่เป็นสื่อทางวัฒนธรรมและได้แสดงให้เห็นสถานภาพเกียรติยศของผู้ใช้ สิ่งเหล่านี้คือการสร้างตรรกะของความแตกต่าง( Logic of Difference) มากกว่าตรรกะเชิงอรรถประโยชน์( Logic of utility )
2.การท้าทายปฏิเสธเรื่องเล่าแบบ Master/Grand narrative หรือคำอธิบายที่ทรงอำนาจ เป็นหัวใจของความรู้ แต่โพสต์โมเดิร์นไม่ยอมให้เรื่องเล่าใดกลายเป็นแม่แบบหรือเป็นหลักครอบงำ การครอบงำอุดมการณ์ไม่ใช่เกิดจากรัฐเท่านั้น รวมถึงแวดวงวิชาการ วิชาชีพ หรือแม้แต่ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนด้วยกันเองด้วย
3.ศิลปะแบบโพสต์โมเดิร์น ปฏิเสธศิลปะแบบโมเดิร์นที่มองว่า ศิลปินคือผู้ที่สร้างความแปลกใหม่ ความริเริ่มสร้างสรรค์และลักษณะเฉพาะตัว ศิลปะคืองานสูงส่ง แต่จริงๆแล้วศิลปะแขนงต่างๆไม่สามารถแยกออกจากการค้าได้
4.วรรณกรรมแบบโพสต์โมเดิร์นยุคโมเดิร์นให้อำนาจกับผู้อ่าน นักเขียน แต่โพสต์ฯมองว่า ตัวบทและงานเขียนมีชีวิตในตัวมันเองเป็นอิสระไม่ขึ้นอยู่กับเจตนารมณ์ของนักเขียนอีกต่อไป ตัวบทจึงเป็นสิ่งที่เปิดกว้างสำหรับการตีความและมีหลายความหมาย
5.ประวัติศาสตร์แบบโพสต์โมเดิร์น โมเดิร์นเน้นการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างเป็นวัตถุวิสัย โพสต์ฯต้องเปลี่ยนมาสู่การให้ความสนใจกับพื้นที่และเวลามากขึ้น สนใจประวัติศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ที่เป็นตัวสะท้อนหรือบอกเล่าเรื่องราวของมนุษย์
โดยสรุปในทางวิชาการ คำว่า Post-Modern สามารถใช้ประกอบกับสิ่งต่างๆหรือถูกใช้ในลักษณะต่างๆกัน สามารถเป็นทั้งคำคุณศัพท์ ประกอบคำนาม คำขยายคำนามที่แตกต่างกัน ก็จะมีนัยที่แตกต่างกัน ใช้ทั้งในวงวิชาการ สังคม เศรษฐศาสตร์และ ศิลปะ เป็นต้น
วิชาการในแนวโพสต์โมเดิร์น คือวิชาการที่มีปฏิบัติสัมพันธ์ในเชิงวิพากษ์ (Critical Interaction) กับวิชาการแนวสมัยใหม่ ซึ่งปฏิสัมพันธ์มีความสำคัญมาก วิชาการแบบPost-Modern ไม่ได้เกิดขึ้นลอยๆในตัวของมันเองแต่มันเกิดจากการวิพากษ์กับวิชาการอื่นๆโดยแนวคิดแบบโพสต์โมเดิร์นจะยืนอยู่โดยปราศจากโมเดิร์นไม่ได้ ถ้าหลุดจากปฏิสัมพันธ์กับตัวนี้ ก็จะหมดความหมายหรือความสำคัญลงไป
สังคมหลังสมัยใหม่คือสังคมที่เกิดจากความแปรปรวนของสภาวะคุณค่า ความหมาย ที่ถูกสถาปนาในสังคมสมัยใหม่ เช่น เรื่องเสรีภาพ จิตสำนึก ความสงบสุข ซึ่งคุณค่าเหล่านี้เคยได้รับการหล่อเลี้ยงจากสังคมทุนนิยมอุตสาหกรรมแบบโมเดิร์น เมื่อพัฒนามาถึงระบบหนึ่ง (Late-Capitalism) ทุนนิยมขั้นล่าสุด ขั้นปลาย สังคมโมเดิร์นก็จะกลืนกินสิ่งเหล่านี้ โดยใช้เป็นแค่เพียงคำพูดใหม่ๆกลวงๆที่ไม่มีคุณค่า ความหมาย เกิดความเฟ้อ เรื่องเสรีภาพ ประโยชน์สุข ค่านิยม ที่มองความสดสวยงดงาม ความฟุ้งเฟ้อที่มากมายจะระเบิดออกมาโดยไม่ใช่การระเบิดจากภายนอก แต่เป็นสิ่งที่นักวิชาการโดยเฉพาะสิ่งที่ Jeans Baudrillard เรียกว่า การระเบิดเข้าสู่ภายใน (Implosion)
ในสภาวะปัจจุบันคำว่าโพสต์โมเดิร์นถูกใช้ในความหมายเกี่ยวกับสังคมแบบโพสต์โมเดิร์น (Post modern society) กับวิชาการแนวโพสต์โมเดิร์น( Post modern Scholarship) ที่มีความหมายแตกต่างกันหลายนัยยะ
สังคมแบบโพสต์โมเดิร์น วิพากษ์และตั้งคำถามต่อสังคมแบบโมเดิร์น ที่เมื่อพูดถึงสังคมสมัยใหม่ เรามักจะพูดถึงนัยของสภาวะสังคมนั้นในทางลบ เช่น การทำสงครามล้างเผ่าพันธุ์ การใช้และทำลายสิ่งแวดล้อมอย่างมหาศาล การพัฒนาอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดมลพิษ ที่นำไปสู่ความทุกข์ทรมานของมนุษย์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ และมีนัยทางเหยียดหยาม มันเป็นสภาวการณ์แบบPost-Modern ที่แปรปรวนและสับสนในความเป็นมนุษย์และตัวตนของมนุษย์ที่พร่าเลือนและเป็นตัวตนที่ถูกประกอบสร้างอย่างบิดเบี้ยว ผิดส่วน หลากหลาย เป็นลักษณะแบบหัวมังกุดท้าย
มังกร(ECLECTICISM) ที่ผสมปนเปกันไปจนแทบจะหารากเหง้าหรือจุดกำเนิดไม่พบ ดังเช่นวิถีชีวิตของผู้คนไทยในปัจจุบัน อาจจะบริโภคแมคโดนัลด์ ดูรายการเอ็มทีวี ดูละครจักรๆวงศ์ๆ ดูซีรี่เกาหลี ทำให้ตัวตนของความเป็นไทยถูกทำให้พร่าเลือนด้วยวัฒนธรรมแบบเกาหลี อเมริกัน เป็นต้น ดังนั้นความจริงของมนุษย์หรือความเป็นมนุษย์จึงเป็นสิ่งที่ถูกประกอบสร้างอยู่ตลอดเวลา
ในขณะเดียวกันวิชาการแนวโพสต์โมเดิร์น มีความลุ่มลึกซับซ้อน หลากหลายมิติ มีชั้นเชิงในการมองวิถีชีวิตของผู้คนและปรากฏการณ์ของสังคม รวมทั้งไม่ยึดติดกับวิชาการแนวโมเดิร์นหรือสมัยใหม่
วิชาการแนวหลังสมัยใหม่มันมาตรวจจับวิชาการแนวโมเดิร์น ซึ่งไม่มีเครื่องมือที่เพียงพอกับกับการเท่าทันกับปรากฏการณ์ของสิ่งเหล่านี้ เครื่องมือแบบโมเดิร์นอธิบายการบริโภคนิยมแบบยุคปัจจุบัน แบบโพสต์โมเดิร์นไม่ได้เพราะเครื่องมือของโมเดิร์น ก็เป็นเรื่องที่เน้นอรรถประโยชน์สูงสุด จึงไม่สามารถอธิบายกระบวนการกลายพันธุ์จากสภาวะสมัยใหม่ไปสู่ภาวะหลังสมัยใหม่ได้ วิธีการแนวโพสต์โมเดิร์นสามารถเอาไปใช้ในการศึกษาสังคมโมเดิร์นเองก็ได้ก่อนโมเดิร์น(Pre-Modern) ก็ได้ หรือศึกษาสังคมแบบอื่นๆ ที่ว่าก็ทำให้เกิดประเด็นที่แหลมคมหลากหลายมิติ
ดังนั้นอาจสรุปได้ว่าโพสต์โมเดิร์นมี 2 ความหมาย คือ ความหมายทางสังคม กับความหมายทางวิชาการ อีกแนวหนึ่งที่แยกออกมาคือ โพสต์โมเดิร์นในงานศิลปะและสถาปัตยกรรม ที่เรียกว่าศิลปะแนวหลังสมัยใหม่ ซึ่งเป็นศิลปะในขนบที่สนใจและจงใจจะหักล้างคติความเชื่อทางศิลปะแบบโมเดิร์น ที่จะลบล้างคติแบบที่พยายามแบ่งแนวและสกุลของงานศิลปะชัดเจน เป็นแนว Romantic ,Realistic ,High-Modern, classic ,abstract ประติมากรรมสามมติ เป็นต้น
ศิลปะโพสต์โมเดิร์น พยายามลบล้างพรมแดน ชนิดของศิลปะ ประเภทของศิลปะ มีการนำมาใช้ปะปนกัน ลบล้างพรมแดนของวัสดุ ลบล้างพรมแดนของศิลปะชั้นสูง ศิลปะแบบชาวบ้าน ศิลปะปัญญาชน (High-Art ,Low-Art)และความเป็นศิลปิน ไม่ใช่ศิลปิน ศิลปะ ไม่ใช่ศิลปะ
โดยความเป็นศิลปิน ในความหมายแบบโมเดิร์น ถูกจำกัดและขุมขังนิยาม ความหมายภายใต้ว่าคือผู้มีญาณ มีวิสัยทัศน์ ของการเล็งเห็น และการถ่ายทอดที่สูงส่งกว่าคนอื่นๆ ในขณะที่กระแสแนวความคิดแบบโพสต์โมเดิร์น มองว่า ศิลปินแบบนั้นไม่มี อย่างมากก็เป็นเพียงช่างฝีมืออย่างหนึ่ง ไม่ใช่อัจฉริยะ (Genious) ศิลปะชั้นสูงกับศิลปะชาวบ้านก็เลยละลายปะปนกันไปหมดไม่มีใครเหนือกว่า หรือมีอำนาจชี้ขาดคนอื่นๆรวมทั้งการทลาย ลบเลือนพรมแดนหรือเส้นแบ่งระหว่างความเป็นศิลปะ(Art)กับสิ่งที่ไม่ใช่ศิลปะ(Non-Art) ตีวอย่างเช่น การเอาผืนผ้าว่างเปล่ามาแสดง เอาแก้วน้ำมาวางบนบอร์ด เอาอาหารกระป๋องสำเร็จรูปมาจัดเรียงเป็นชั้น นั่นคือ วิธีการทำสิ่งที่ไม่ใช่ศิลปะเอาขยะ เอาวัสดุในกระบวนการผลิตซ้ำของระบบทุนนิยมให้เป็นงานศิลปะ สิ่งเหล่านี้เกิดจากกระบวนการทางความรู้และอำนาจ ที่เรียกว่า วาทกรรมที่ว่าด้วยศิลปะ ตัวอย่างเช่น ถ้าข้างหน้าติดป้ายว่าเป็นแกลอรี่ ( Gallery ) ข้างในก็ต้องเป็นเป็นงานศิลปะ (Arbitraness) ตามอำเภอใจ ดังนั้นสิ่งที่รายรอบชิ้นงานคือวาทกรรม ที่ทำให้สิ่งที่ไม่ใช่ศิลปะกลายเป็นศิลปะ สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นในวงการที่เป็นศิลปะหลังสมัยใหม่ สิ่งที่ทำทั้งหลายทั้งปวงเป็นสิ่งที่เรียกว่า ECLECTICISM คือ การเอาสิ่งต่างๆมาปะปนกันผสมปนเปกันเพื่อจงใจท้าทายคติคิดแบบโมเดิร์น
baudrillard jean 在 超級歪 SuperY Youtube 的最佳貼文
立刻加入頻道會員,實際行動支持超級歪:https://www.youtube.com/channel/UCAM7yIYvZGYLJR6z6RqLlNw/join
#超級歪電影院暨贈書活動
-
📣留言加分享本影片,就有機會抽《銀翼殺手》原著小說一本呦。
參加抽獎活動時間為期一週:2018.4.7 - 2018.4.14
👏感謝 的熱情贈書
-
第十集【科幻電影系列】:銀翼殺手電影解析三部曲(上集): 何謂真實?Blade Runner / 擬仿物&布希亞 Simulacra and Baudrillard
-
超級歪:「等等,難道滴妹不就是一個擬仿物嗎?不是滴妹不存在,而阿滴創造出的擬仿物掩蓋了滴妹的不存在。正好相反,是先有滴妹的擬仿物,阿滴才藉由擬仿物建構了自己的真實頻道。那麼阿滴的頻道本身真實嗎?」
-
本集關鍵字:#虛假記憶 #魔鬼總動員 #極光追殺令 #我思故我在 #笛卡兒#一級玩家 #孚卡測驗 #同理心 #Tomasello #意向性 #現象學 #交互主體性 #神經現象學 #Magritte #虛假的鏡子 #維根斯坦 #Nagel #逃出絕命鎮 #擬仿物 #駭客任務 #虛擬偶像 #CSI犯罪現場 #黑暗騎士 #布希亞 #小熊維尼 #習近平
-
參考資料
David Graeber
2016,《規則的烏托邦》,商周
Evan Thompson
2007, Mind in Life: Biology, Phenomenology, and the Sciences of Mind
Frans de Waal
2017,《你不知道我們有多聰明》,馬可孛羅
Jacques Monod
1972, Chance and Necessity: An Essay on the Natural Philosophy of Modern Biology
Jean Baudrillard
1994, Simulacra and Simulation (中譯本:1998,《擬仿物與擬像》,時報)
1993, Symbolic Exchange and Death (中譯本:2006,《象徵交換與死亡》,譯林)
Michael Tomasello
1999, The cultural origins of human cognition
2014, A natural history of human thinking
René Descartes
2015,《沉思錄》,五南
Slavoj Zizek
1993, Tarrying with the Negative: Kant, Hegel, and the Critique of Ideology.
Thomas Nagel
1974, What Is It Like to Be a Bat?
Ludwig Wittgenstein
2009, Major Works: Selected Philosophical Writings .Tractatus Logico-Philosophicus.
(中譯本:1996,《邏輯哲學論》,商務印書館)
baudrillard jean 在 13 Jean Baudrillard ideas - Pinterest 的推薦與評價
2014-5-23 - Explore Huang Jin-Cheng's board "Jean Baudrillard", followed by 105 people on Pinterest. ... <看更多>