=========
ภาษี E-service ตัวร้าย? กับนายเกมเมอร์ 💸💸💸
=========
.
“ภาษี” คือหนึ่งใน “ค่าใช้จ่าย” ของประชาชนที่มีหน้าที่จ่าย เพื่อแลกมาซึ่งสวัสดิการทางสังคมต่าง ๆ ในอีกด้านหนึ่งภาษีคือ “รายได้” ของภาครัฐที่เรียกเก็บจากประชาชนในประเทศ เพื่อนำมาใช้อย่างคุ้มค่า สร้างสวัสดิการอันดีงามให้ประชาชนใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข ทั้งเรื่องสาธารณสุข การคมนาคม สวัสดิภาพและความปลอดภัยในชีวิต เป็นต้น
.
(แต่ต้องขอวงเล็บไว้นะครับว่า ความพึงพอใจในสวัสดิการที่ภาครัฐส่งมอบให้ประชาชนในแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับว่ามลรัฐไหนจะสามารถใช้ภาษีแล้วทำให้ประชาชนรู้สึกว่ามันคุ้มค่ากับที่ต้องเสียไป)
.
ทางภาครัฐจะเรียกเก็บภาษีผ่านเครื่องมือต่าง ๆ เช่น ‘ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา’ เรียกเก็บจากคนธรรมดาผู้มีรายได้ตามเกณฑ์และอาศัยอยู่ในประเทศไทย ‘ภาษีนิติบุคคล’ ที่เรียกเก็บจากธุรกิจเอกชนที่จดทะเบียนจัดตั้งและมีกำไรอยู่ในประเทศไทย หรือ ‘ภาษีมูลค่าเพิ่ม’ ที่เรียกเก็บจากมูลค่าของการซื้อขายสินค้าและบริการในประเทศไทย เป็นต้น
.
ล่าสุดนี้ ทางรัฐบาลไทยได้ประกาศใช้เครื่องมือเรียกเก็บภาษีตัวใหม่ที่มีชื่อว่า ‘ภาษี e-service’ ที่พอเหมาะพอดีกับวิถีชีวิตในโลกปัจจุบัน เพราะด้วยรูปแบบของการให้บริการและการทำธุรกรรมในยุคนี้เปลี่ยนแปลงไปจากเมื่อก่อนมาก การซื้อขายสินค้าบริการทั้งหลายแปรสภาพไปอยู่บนช่องทางอิเล็กทรอนิกส์และอินเตอร์เน็ตมากขึ้น เครื่องมือนี้จึงเกิดขึ้น
.
เรื่องนี้ส่งผลกระทบกับผู้บริโภค ผู้ใช้บริการบนแพลตฟอร์มออนไลน์ และเหล่าเกมเมอร์ที่ซื้อเกมผ่านแพลตฟอร์มเกมต่าง ๆ อย่างแน่นอน เพราะโดยภาพรวมแล้วภาระของผู้ประกอบการก็อาจจะถูกผลักมาให้ผู้บริโภคช่วยกันแบ่งรับแบ่งสู้ ราคาของสินค้าและบริการก็มีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นนั่นเองครับ
.
แต่จะส่งผลกระทบในรูปแบบอย่างไรบ้าง ค่อย ๆ ไปทำความรู้จักกับ e-service ตัวนี้กันครับ
.
📌 ภาษี e-service คือ อะไร?
.
ปกติแล้วธุรกิจที่ขายสินค้าและบริการในประเทศไทยจะถูกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ VAT ในอัตรา 7% จากผู้บริโภค ซึ่งผู้ประกอบการจะมีหน้าที่เก็บและนำส่งให้สรรพากร แต่ e-service จะเป็น VAT หรือภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ในต่างประเทศซึ่งไม่ได้จดทะเบียนจัดตั้งในประเทศไทย ต้องมีหน้าที่เสียภาษีนี้ให้กับประเทศไทย เมื่อมีรายได้ค่าบริการผ่านแพลทฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ ในอัตรา 7% ของยอดสินค้าหรือบริการ
.
หลังจากวันที่ 1 กันยายน 2564 ผู้ที่ขายสินค้าและบริการผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ให้กับลูกค้าในประเทศไทยจะมีภาระค่าใช้จ่ายมากขึ้นจากเดิมตามกฏหมาย
.
📌 ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับภาษี e-service มีใครบ้าง?
.
โดยหลัก ๆ แล้วก็จะเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับแพลตฟอร์มออนไลน์ที่เราคุ้นเคยกันดี เช่น Facebook Instagram Youtube ซึ่งให้บริการเกี่ยวกับโฆษณาทางโซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค ธุรกิจให้บริการสตรีมมิ่งเพื่อความบันเทิง เช่น Netflix Spotify ธุรกิจที่ให้บริการออนไลน์ เช่น Agoda Booking.com Airbnb Grab และแพลตฟอร์มที่เป็นมาร์เก็ตเพลส หรือขายสินค้าออนไลน์ ทั้ง App Store, Play Store, Shopee, Amazon.com
.
สำหรับธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเหล่าเกมเมอร์ ก็จะเป็นธุรกิจจำพวก Online Store ทั้ง Steam, PS Store, Nintendo Store และ XBOX Store รวมถึงตัวเกมที่มีการซื้อขายสินค้าด้วยเงินจริง การเติมเงินผ่านระบบที่อยู่ในต่างประเทศก็ต้องเสียภาษีนี้เช่นกัน เพราะในยุคนี้เกมต่าง ๆ จะถูกพัฒนาขึ้นมาภายใต้รูปแบบ in-game purchasing เสียเป็นส่วนใหญ่
.
📌 e-services เก็บทำไม มีในประเทศไทยที่เดียวหรือเปล่า?
.
อันที่จริงภาษี e-service เป็นภาษีที่ถูกเก็บตามคำแนะนำของ OECD โดยในหลายประเทศทั่วโลกกว่า 60 ประเทศ เช่น ออสเตรเลีย ไต้หวัน สิงคโปร์ มาเลเซีย ก็ได้ออกหรือแก้ไขกฎหมายเพื่อรองรับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์มาก่อนหน้าประเทศไทยกันบ้างแล้ว
.
ว่ากันว่า e-service จะช่วยสร้างความเป็นธรรมให้แก่ธุรกิจภายในประเทศมากขึ้น ลองนึกดูเล่น ๆ ก็ได้ครับ ถ้าร้านเกมค้าปลีกในไทยต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มให้สรรพากรตามปกติ แต่ Steam ที่ขายเกมเหมือนกันไม่ต้องเสียภาษีอัตรา 7% เลย ชัดเจนว่าภาระค่าใช้จ่ายของร้านค้าปลีกจะเยอะกว่า ทำให้แพลตฟอร์มจากต่างประเทศรายนี้ได้เปรียบ เพราะมีช่องทางที่สามารถลดราคาเพื่อแข่งขันกับร้านเกมในไทยได้
.
📌 แล้วใครมันจะไปอยากเสียเงินมากกว่าเพื่อซื้อเกมที่เหมือนกันล่ะครับ ถูกไหม?
.
เมื่อมีการเก็บภาษีอย่างเท่าเทียมแล้ว แน่นอนว่ารายได้ของรัฐบาลไทยก็จะเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล มีการคาดการณ์ว่าจะสามารถเรียกเก็บภาษี e-service ได้มากกว่า 5 พันล้านบาทเลยล่ะครับ
.
📌 ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผู้บริโภคล่ะ มีอะไรบ้าง?
.
ถ้าพูดถึงผลกระทบที่เกิดกับผู้บริโภคที่เป็นบุคคลธรรมดาอย่างเรา ๆ โดยทั่วไป e-service ก็จะคล้ายกับ VAT ที่เราต้องเสียให้กับร้านค้าและบริการต่าง ๆ ในประเทศอยู่แล้ว
.
ซึ่งการเกิดขึ้นมาของภาษีตัวนี้จะทำให้ภาระค่าใช้จ่ายของผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น เพราะพวกเขามีหน้าที่ต้องนำส่งภาษีตัวนี้ให้กับทางสรรพากรตามข้อตกลง ทำให้จากเดิมที่ผู้ให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ไม่เคยต้องเสียภาษี e-service มาก่อน ต้องหาทางออกให้กับภาระค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น
.
มีทางเลือกให้ 2 ทางครับ ทางเลือกแรกคือเรียกเก็บค่าสินค้าและบริการเท่าเดิม ไม่ชาร์จภาษี e-service เพิ่มจากลูกค้า อันนี้ก็เป็นผลดีกับตัวลูกค้า เพราะผู้ประกอบการใจป๋ายอมแบกรับต้นทุนส่วนเพิ่มนี้เอาไว้เอง
.
หากเป็นทางเลือกที่สอง คือ ผู้ประกอบการไม่อยากรับภาระส่วนนี้ไว้ เพราะต้องการรักษาความสามารถในการทำกำไรให้ได้เท่าเดิม แน่นอนว่าเขาก็ต้องผลักภาระส่วนนี้ให้กับผู้บริโภคอย่างเรา สินค้าก็จะแพงขึ้นประมาณ 7% บวกลบจากราคาก่อนหน้านี้
.
ในฐานะนักลงทุนที่คลุกคลีกับวงการเกมอยู่บ้าง ผมเชื่อว่าผู้พัฒนาเกมจะเลือกผลักภาระนี้มาให้ลูกค้าครับ เพราะโดยส่วนใหญ่อำนาจต่อรองของผู้พัฒนาเกมมีสูงกว่าผู้เล่น โดยเฉพาะเกมที่มีกลุ่มคนเล่นมากมาย และมี Network Effect ที่แข็งแกร่งมหาศาล
.
นึกภาพตามครับว่าเรากำลังเล่นเกม MOBA ยอดนิยมเกมหนึ่งมาอย่างยาวนาน ซื้อของในเกมไว้มากมาย ไต่แรงค์ไปอยู่เทียร์บนได้อย่างสง่าผ่าเผย ถ้าอนาคตผู้พัฒนาเกมจะขึ้นราคาสินค้าอีก 7% หรือมากกว่า เราจะยอมเลิกเล่นเกมนั้นแล้วเปลี่ยนไปเล่นเกมอื่น หรือหยุดซื้อของในเกมนั้นเพื่อแอนตี้ภาษีตัวนี้ แล้วยอมให้คนอื่น ๆ ที่ยังจ่ายเงินซื้อของในเกมเหมือนเดิมแซงหน้าไปหรือเปล่าล่ะ?
.
และสำหรับเกมเมอร์ที่ชอบไปลองเล่นเกมตามหน้าร้านแล้วรอกดซื้อเกมตอน Steam ประกาศลดราคา ก็อาจจะไม่เห็นความแตกต่างในการทำโปรโมชั่นบนแพลตฟอร์มออนไลน์มากเหมือนที่ผ่านมา เพราะการแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการไทยกับต่างประเทศจะมีความเท่าเทียมมากขึ้น
.
สรุปโดยง่าย หลังจากวันที่ 1 กันยายน 2564เป็นต้นไป เกมเมอร์ทุกคนอาจจะต้องซื้อเกมผ่านดิจิตอลแพลตฟอร์ม และ Online Store ต่าง ๆ เพิ่มขึ้นจากปกติ 7% บวกลบ นอกจากนี้ระบบการเติมเงินหรือซื้อสินค้าในเกมก็อาจจะโดนชาร์จภาษีตัวนี้เพิ่มเข้าไปด้วยเช่นกัน
.
ผมเข้าใจว่าเกมเมอร์ ผู้บริโภค ทุกคนย่อมหงุดหงิดเป็นธรรมดาเมื่อสินค้าและบริการมีโอกาสแพงขึ้น 7% แต่อัตราภาษีที่ถูกเรียกเก็บนี้ถือว่าไม่แพงมากนัก เมื่อเทียบกับประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรปที่เก็บภาษี e-service ในอัตรา 17-27% แม้กระทั่งเพื่อนบ้านอย่างอินโดนิเซียก็เรียกเก็บภาษีนี้ในอัตรา 10% และภาษีนี้จะเป็นหนึ่งในรายได้ที่ไหลเข้ากระเป๋าเงินของรัฐเพิ่มขึ้นในอนาคต
.
อันที่จริงผมเชื่อครับว่า ภาษี e-service ที่ชาร์จเพิ่ม 7% บนมูลค่าของสินค้าและบริการทางอิเล็กทรอนิกส์นี้จะไม่เป็นเรื่องใหญ่อะไร หรือเป็นตัวร้ายในสายตาของใครเลย หากผู้บริโภคอย่างเรารู้สึกว่าเงินเหล่านี้จะถูกนำไปใช้อย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ สามารถสร้างสวัสดิการที่ดีให้ทุกคนภายในประเทศมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
.
เหมือนอย่างที่ผมกล่าวมาในตอนต้น ถ้าเงินภาษีเหล่านี้ถูกนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับประชาชนคนไทย (ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของคนกลุ่มใด) อย่างแท้จริง
.
รัฐอยากจะเก็บ 10-20% ประชาชนก็คงไม่รู้สึกเดือดร้อนอะไรเลย...
.
บทความโดย ปั้น - จิตรกร แสงวิสุทธิ์ Investment Planner แอดมินเพจ "นายปั้นเงิน"
.
💡 ติดตามความรู้ด้านการเงิน การออมและการลงทุน ได้ที่เพจ นายปั้นเงิน เพจที่จะทำให้เรื่องการเงินเป็นเรื่องง่าย ( https://www.facebook.com/artisanmoney/ )
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
e-services 在 Facebook 的最佳貼文
กรมสรรพากร เริ่มเก็บภาษี e-Service ผู้ประกอบการต่างชาติ 1 กันยายนนี้
.
ซึ่งถือว่าอีกไม่นานเลยเพราะนับจากนี้เหลืออีก 5 วันก็ก้าวสู่เดือนกันยายนแล้ว อธิบดีกรมสรรพากรคาดเก็บภาษี e-Service จากผู้ให้บริการต่างชาติได้ราว 100 ราย ได้เม็ดเงินภาษีประมาณ 5 พันล้านบาทต่อปี โดยมีบริษัทที่ยื่นลงทะเบียนผ่านออนไลน์เข้ามาแล้ว 34 ราย เริ่มบังคับใช้ตั้งแต่ 1 ก.ย.2564 นี้
https://www.it24hrs.com/2021/thai-tax-e-services-start-sep-2021/
#eservice #กรมสรรพากร
e-services 在 唐家婕 - Jane Tang Facebook 的最讚貼文
【「蛋殼難民」🥚🍳中國白領青年的寒冬掙扎】
今年11月開始,提供長租服務的 #蛋殼公寓 爆出財務危機。這場政府鼓勵下的創新金融遊戲,在疏於監管及中國經濟放緩的背景下快速崩解。卡在資金鍊下方的,是數十萬房東及離鄉背井的年輕租客。
這個冬天,這些被困在蛋殼里的中國年輕人,正在面對怎樣的現實?
—
📝: 文長,慎入。
📝: 這些蛋殼青年是我越來越陌生的一個群體,跟我所熟悉的中國80、70、60後,或更資深一輩很不一樣。對於這群在中國防火牆建成、經濟騰飛後長大的一代,他們怎麼看待這個現實考驗?
📝這兩天聊了好幾個人,發現這些大學以上學歷的年輕人,很愛用「打工仔」來形容自己。最有趣大概還有他們做自嘲梗圖跟段子的能力。一個妹妹在採訪完隔天傳來幾段:
「北上广深,数百万白领,上着九九六的班,卡着一年租金贷,然后被赶到马路上。」(配上哭臉的狗狗)
「我也爱国,也会给老人让座,也会给乞丐钱,也有善良的心,为什么国家要我当蛋壳人(配上碎裂的笑臉)」
然後她問著遠方的我,「姊姊您这边有途径能了解这件事情的解决方案吗?」
—
祝福他們,也祝福在這個寒冬渴望正義的人們。
▫️報導全文:https://www.rfa.org/mandarin/yataibaodao/shehui/jt-12022020132421.html
▫️影片:https://fb.watch/29402_RB0t/
—
打著高端白領公寓品牌的「蛋殼公寓」,自11月初爆出運營危機,在全中國13個城市管理的超過41萬套房源、上萬年輕租客,正面臨著寒冬無家可歸的窘境。
▪️👩🏻🎨上海商小姐,22歲:邊被驅趕邊還貸
「這是我第一次租房,選擇蛋殼(公寓)的原因是因為朋友都住這個。」 在上海從事設計類工作的商小姐介紹著自己大學畢業後的「第一個家」,月付1980人民幣,一個裝修完整的主臥。
她看中房租便宜、性價比高,應屆畢業生、朋友互相推薦還有數百元的返現優惠,「蛋殼的業務員推薦很多種(付款)方式,本來每月租金是2150,一次性年繳可以降到2050。拿不出一整年的錢,他們推薦使用租金貸,降到1980,說這個付費形式便宜又安全。」
但今年11月,商小姐的房子被斷網,接著房東找上門,說因為沒有收到中介(蛋殼公寓)的房租,要求商小姐在12月10日前搬離。
「還沒想到要搬去哪裡的解決辦法……,目前最擔心的是微眾租金貸的問題,還有會不會影響我個人的徵信。」
簡單來說,蛋殼公寓是「二房東」,從各地的「大房東」處接收房源,統一裝修後轉手租給租客。而「微眾銀行」則是這場金融遊戲的第四個角色,提供「租金貸」服務。
「租金貸」是租客與金融機構微眾銀行簽訂的住房消費貸款合約,由微眾銀行替租客向蛋殼公寓支付全年房租,租客再向微眾銀行按月償還租房貸款。
▪️🚅🇨🇳「租金貸」陷阱——當火車不再往前跑
今年1月17日,成立不到五年的蛋殼公寓(NYSE:DNK)在紐約證券交易所掛牌上市。上市前,蛋殼公寓一方面以「高進低出」的方式,高價向房東取得房源、優惠低價租給房客,擴大規模。
另一方面,高度依賴「租金貸」為最大的現金流來源。以2019年前九個月為例,通過「租金貸」模式獲取的租金預付款,佔蛋殼公寓租金收入的80%。
在經濟大環境看好、市場規模做大的情況下,蛋殼公寓看起來是一個房東、租客、平台、網銀四方皆贏的金融創新模式。
「這個租金貸款就是一種新的金融產品,但風險高,一旦房價下跌,經濟不景氣,就會出問題。」中國獨立智庫天則經濟研究所所長盛洪告訴本台。
今年初,高速滾動的蛋殼迎頭撞上新冠疫情,中國經濟放緩、租賃市場也委靡不振。北京諸葛房地產數據公司12月2日發佈的調查發現,中國40個主要城市的平均房屋租金價格,正跌至近兩年來的最低水平。
在美國的資深財經媒體人王劍這麼形容著「租金貸」的陷阱,「有點像開火車,我只有這一截路軌,車往前跑,我就把後面的路軌拆了往前放,前提是,我車得不斷往前跑才行。只要車往前跑,我手上就有現金,我規模大了,我做點別的業務,把這件事給補回來。」
▪️🧑🏻💻詹先生,24歲: 「谁来救救打工仔?」
躺在鐵軌上的,是數十萬無路可走的房東與房客。11月上旬以來,房東驅趕租客、斷水、斷電、換鎖的案例在各大城市發生。
「中介不給你錢,你來找我的麻煩。」互聯網上的一段短片,租戶女孩向闖進房子的房東揮著刀子。
「這房子是我的啊,你的中介去了哪?你去中介那裡找房子。」房東聲嘶力竭地喊著。
「現在房東要趕我們12月6日前搬走。沒有任何救濟啊,都聯繫不上人,蛋殼客服都打爆了,微眾銀行也打爆,蛋殼管家也聯繫不上,街道辦也沒辦法,就是不知道能怎麼辦!」在深圳做零售業的詹先生也被房東下了逐客令。
24歲的他把自己的社媒頭像換成了一個黃色笑臉,P字寫上「誰來救救打工仔」,這已經是他住在蛋殼公寓的第二年。他每月租金貸2100,照合約要繳到明年五月。
微眾銀行在12月2日晚間公佈了一個應急方案,公告稱,將為16萬蛋殼租戶提供不扣錢、不記息的救助計劃,還款期延至2023年底。
「三年也是一筆賬啊,就是拖,還有我的2100押金呢?」詹先生問。
▪️🧑🏻⚕️北京貝小姐,24歲: 「求拉,有北京的救济群吗?」
中國經濟學者張林在英國《金融時報》撰文寫道,蛋殼公寓所代表的金融模式失敗,首先傷害的就是初入職場、儲蓄較低的年輕就業人口,他們正位於陷阱的中心。
網友扒出了2019年為蛋殼背書的共青團中央、黨媒黨報,《環球時報》及環球網還將2019年的「年度責任踐行獎」頒給蛋殼公寓,央視也做了大篇幅的報導。
「這麼大的事情,政府疏於監管是一個重要的因素。」 在紐約新學院(The New School)任教的中國人權律師滕彪說,過去幾年中國也發生過多場金融P2P騙局,但隨著政治局勢及監控更加緊張,受害者維權也只能自我調整,「很難再把政府作為主要的抗議對象,尤其是那些牽頭組織抗爭的人,會被維穩部門打壓,中國政府擅長的維穩邏輯就是抓人。」
一家專門監控跟分析中國網絡平台的公司研究發現,在11月蛋殼事件爆發後,中國官方首先透過社媒平台的審查,刪除那些質疑中國政府為何沒有監管法規的帖子,還特別對一則關於租戶在壓力下計劃自殺的帖子限流。
不過,11月底以來,中國官媒開始出現文章,宣傳政府正在採取行動,為人們排憂解難,還一起批鬥起資本市場。
「我的房東終於上門了,求拉,有北京的救濟群嗎?」北京的貝小姐在網路論壇上發出微弱的呼喊,與近十位跟本台分享經歷的受害租戶一樣,他們都因安全原因不願意全名受訪,或只願意接受文字採訪。
貝小姐在體檢業工作,今年九月才從另一家爆雷的長租公寓自如,搬到蛋殼公寓,一個月租金3000,已先付半年。
她說,幾個禮拜來,維權群里已漸漸冷卻,大家心照不宣的是,「只能等等官方說法吧,我們是弱勢群體啊。」她給記者的文字回復中寫道,房東給她到明年一月底的搬家期限。
▪️🧚♀️天津,小果子🌰
另一位也稱自己是「弱勢群體」、網名「仙女味的小果子」的女孩就沒那麼幸運了。她在微博分享兩張疑似在寒風中搬家的照片,寫到「哎,蛋殼就可以逍遙法外了嗎,弱勢群體沒有人保護。」
不過,「小果子」在今年五月批評武漢日記作者方方、甚至揚言要割掉方方舌頭的貼文被翻出,引來網絡一陣嘲諷。
「共青團聯手蛋殼,親手把自己用過的小紅粉活埋了」,一則留言寫到。
盛洪則表示同情,「她很可憐,她的精神也住在蛋殼里,現在蛋殼破了。」
—
Latest: In cities across China, thousands of young tenants are being evicted by their landlords, who failed to receive rents from the e-services firm/co-living platform #Danke (#蛋壳公寓 )since November.
Danke, once a rising star in China's flat rental market, operated more than 415k flats in 13 cities.
Under Danke's business model, tenants are also encouraged to take one-year loans (租金貸)from Danke's partner bank WeBank to pay their rents. Tenants then repay loans monthly.
I talked to several “Danke refugees “ (蛋殼難民) from Beijing, Shanghai and Shenzhen.
“We’re literally homeless with a mortgage.” One said.
Here’re their stories:
▫️報導全文:https://www.rfa.org/mandarin/yataibaodao/shehui/jt-12022020132421.html
▫️影片:https://fb.watch/29402_RB0t/
e-services 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
e-services 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
e-services 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
e-services 在 e-Services 的相關結果
e -Services are online applications that enable citizens to consume available government services. You can browse available services under the e-Services menu ... ... <看更多>
e-services 在 e-Services Portal 的相關結果
Serving teachers with e-Services Portal accounts can click here to register as the members of Educational Resources Online Platform (EROP). T-surf24/7. Click ... ... <看更多>