【Calf Raise】
如果你想改善扁平足、足底筋膜炎
或是膝蓋疼痛的話,那麼Calf Raise
是你絕對不能錯過的足部訓練
也就是雙腳朝前併攏墊腳尖的動作
儘管這個動作十分經典
過去卻鮮少研究去測試
改變腳踝位置是否會影響
不同肌肉的活化程度
直到近期看到這篇文獻
覺得十分有趣,想跟大家分享
「The influence of foot position on lower leg muscle activity during aheel raise exercise measured withfine-wire and surface EMG」
研究中找了14為健康的男性
並使用肌電圖檢查(EMG)去測量
上週所提到的四條關鍵肌肉:
1. 脛後肌(tibialis posterior , TP)
2. 腓骨長肌(peroneus longus ,PL)
3. 屈指長肌(flexor digitorum longus , FDL)
4. 內側腓腸肌 (medial gastrocnemius ,MG)
並請測試者做以下三個動作:
A. 腳掌朝向正前方
B. 腳掌朝外
C. 腳掌朝內
去比較各個肌肉收縮的活化程度
研究結果如下:
脛後肌 : 腳掌朝內(圖c) > 腳掌朝前(圖b) >腳掌朝外(圖a)
屈指長肌:腳掌朝內 > 腳掌朝前 >腳掌朝外
腓骨長肌:腳掌朝外 > 腳掌朝前 >腳掌朝內
內側腓腸肌:無明顯差異
這樣看起來好像很複雜
其實一點都不會
如果結合我們上周所提到的
腳踝四大關鍵肌肉會發現
腳掌朝內、腳掌朝外
剛好適用於二種完全不同的情境
【足弓塌陷、足底筋膜炎=腳掌朝內】
脛後肌和屈指長肌
剛好都是可以幫助足弓撐起的肌肉
也可以有效的讓腳踝變得更加強壯
因此如果你的足弓塌陷、扁平足
或是有足底筋膜炎的話
就可以使用嘗試使用腳掌朝內
的墊腳尖訓練會更有效率喔!
【反覆性扭傷 = 腳掌朝外】
相反的,如果你曾經嚴重扭傷過
或是腳踝現在已經變得會反覆性扭傷了
這時候我們想訓練腓骨長肌的話
就可以使用腳掌朝外的墊腳尖訓練喔!
【建議搭配腳掌朝前訓練】
由於墊腳尖訓練,不僅只有訓練到腳踝
同時也會影響到髖關節的動作
為了避免髖關節在腳掌朝內或腳掌朝外
訓練後變得緊繃或無力
會建議搭配腳掌朝前的墊腳尖訓練喔!
#完整文章在留言中
#阿舟物理治療小教室
#腓腸肌
#脛後肌
#腓骨長肌
#calfraise
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「tibialis posterior」的推薦目錄:
- 關於tibialis posterior 在 阿舟物理治療小教室-疼痛處理與動作優化 Facebook 的最讚貼文
- 關於tibialis posterior 在 Goodhealth สุขภาพดีอย่างมีกึ๋น Facebook 的最讚貼文
- 關於tibialis posterior 在 Coach Honda Facebook 的最佳解答
- 關於tibialis posterior 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
- 關於tibialis posterior 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
- 關於tibialis posterior 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於tibialis posterior 在 Tibialis Posterior Tendon Dysfunction - Penn Medicine 的評價
- 關於tibialis posterior 在 Tibialis Posterior Tendonopathy ( PTTD ) - South West Podiatry 的評價
- 關於tibialis posterior 在 TIBIALIS POSTERIOR STRENGTHENING - Physiotutors 的評價
tibialis posterior 在 Goodhealth สุขภาพดีอย่างมีกึ๋น Facebook 的最讚貼文
สวัสดีค่ะเพื่อนๆ วันนี้หมอเมย์มาพารู้จักกล้ามเนื้อมัดติดกระดูกแข้ง ที่มีชื่อว่า tibialis posterior
มัดนี้สำคัญอย่างไร
ในคนทั่วไป ใช้บิดเท้าเข้าด้านในหรือเรียกว่า inversion หรือเข้าใจง่ายๆ ก็เป็นส่วนประกอบของการเดิน กระโดด วิ่ง
ที่คลินิกนักวิ่งเราพบอาการบาดเจ็บจากกล้ามเนื้อมัดนี้ได้บ่อยมากค่ะ
อาการสำคัญที่นำมามีอะไรได้บ้าง
1. เจ็บสันแข้ง หรือพวกshin splints
2. เจ็บน่อง
3. เจ็บข้อเท้าด้านใน ใต้ตาตุ่ม
4. เจ็บเอ็นร้อยหวาย
5.เจ็บส้นเท้า
6.เจ็บผ่าเท้าตรงกลาง หรือด้านกระดูกเท้า
7. ตื่นนอนแล้วเดินเหยียบแรกเจ็บเหมือนตะปูตำ (อาการคลายๆรองช้ำเลยใช่ไหมล่ะคะ)
อย่าเพิ่งตกใจนะคะ เพราะมันเป็นแบบนี้ได้จริงๆและลามไปถึง กล้ามเนื้อน่องแฮมสตริงได้หมดเลย
ภาพเป็นdiagram ความปวดที่เกิดขึ้นได้จากกล้ามเนื้อมัดนี้ จุดกากบาทคือจุดที่พบ trigger point บ่อยๆ แต่ในชีวิตจริง หมอเมย์เจอยาวแทบทั้งมัดค่ะ
อย่าปล่อยทิ้งไว้เรื้อรังนะคะ รักษายาก และต้อง shopping คุณหมอและกายภาพบำบัดไปเรื่อยๆ
นอกจากมีการดูแลตนเองที่ดีแล้วยังต้องมีทีมsupport ให้เพื่อนๆได้ใช้ชีวิตสนุก สมดุลด้วยนะคะ
tibialis posterior 在 Coach Honda Facebook 的最佳解答
13/14/2019
วันนี้เอาคำแนะนำ ที่น้องในคลาสเรียน
ผู้ฝึกสองวิ่งระยะไกล แนะนำเรื่องอาการบาดเจ็บ shin splint แนวทางรักษาและบริหารกล้ามเนื้อ
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับอาการบาดเจ็บมาฝากกันครับ
สวัสดีครับพี่ พอดีจากที่ได้คุยกันและอ่านบทความของพี่ ทราบว่าพี่เจ็บ shin splint ซึ่งสาเหตุอาจมาจากบริเวณ itb หรือบางทีอาจจะเป็น hip เลย ซึ่งมันมีความเป็นไปได้เลยครับ
ผมในมุมของเทรนเนอร์ขออนุญาตแนะนำเพิมเติมนะครับ
ตอนนี้เน้นการพักการใช้งานถูกต้องแล้วครับ แต่ก็ไม่ควรละทิ้งการทำ cross training เช่น elliptical, bike, ว่ายน้ำ
เพื่อรักษาความสามารถของระบบคาร์ดิโอเอาไว้ครับและยังเป็นการใช้งานกล้ามเนื้อมัดอื่น ๆ ไปในตัวด้วย และหากยังมีอาการปวดหรือเจ็บอยู่อยากจะให้ประคบเย็นมากกว่าประคบร้อนครับ
ส่วนบริเวณที่เจ็บ shin splint ส่วนใหญ่มักเกิดจากกล้ามเนื้อน่องทั้ง 2 มัดตึงตัว และกล้ามเนื้อขอบกระดูก tibia อ่อนแรง ซึ่งพอเราวิ่งเยอะ แรงกระแทกที่ส่งเข้ามาจากพื้น กล้ามเนื้อขาท่อนล่างเป็นตัวรับแรงก่อนเป็นอันดับแรก แต่บอกน่องทั้ง 2 มัดตึงตัว แรงจึงไปตกลงที่กล้ามเนื้อมัดตรงข้ามซึ่งคือพวก tibialis แทน ซึ่งมันอ่อนแรงอยู่ แต่มันต้องรับโหลดเยอะ เลยเจ็บได้ง่ายครับ
ที่นักกายภาพแนะนำให้ไปเน้นตัว hip ก็ถูกต้องเลยครับ เพราะมันควรเป็นกลุ่มกล้ามเนื้อหลักที่ใช้ในการรับแรง ซึ่งถ้ามันถูกกระตุ้นได้ดี ก็มีโอกาสที่กล้ามเนื้อขาท่อนปลายจะรับโหลดน้อยลง
ทั้งนี้กล้ามเนื้อขาท่อนปลายอย่างน่องทั้ง 2 มัดก็ควรจะยืดเหยียดเยอะ ๆ ครับ และต้องไม่ลืมสร้างความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ tibialis anterior & posterior ด้วย ฝึกทำ dorsi flexion โดยใช้ miniband มาช่วยเพิ่มแรงต้านจะดีมาก ๆ เลยครับ
tibialis posterior 在 Tibialis Posterior Tendonopathy ( PTTD ) - South West Podiatry 的推薦與評價
The tibialis posterior tendon is a large tendon connected to the posterior tibialis muscle which is located on the inside of the calf. ... <看更多>
tibialis posterior 在 Tibialis Posterior Tendon Dysfunction - Penn Medicine 的推薦與評價
JOHNSON, M.D., AND DAVID E. STROM, M.D.. Dysfunction of the tibialis posterior tendon evolves through a series of stages. The pain symptoms, clinical signs ... ... <看更多>